กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะผ่านโรงเรียนขยะตำบล 25 เม.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมขยะแลกไข่ 1 พ.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมรณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม 7 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา 1 ก.ย. 2566

 

 

 

 

 

เรียนรู้การจัดการขยะผ่านโรงเรียนขยะตำบล 25 เม.ย. 2566 19 ก.ค. 2566

 

  1. เลือกวิทยากรเป็นทีมสร้างแรงจูงใจ สาธิตการจัดการขยะ และสร้างการเรียนรู้
  2. จัดหาวัสดุเพื่อการสาธิตการจัดการขยะ สร้างการเรียนรู้ ดังนี้
          - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำน้ำหมัก/ถังขยะเปียก/ไส้เดือน       - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำหมักแห้ง
  3. สร้างการเรียนรู้ตามแนวทาง 3 R

 

1.ทีมวิทยากร หลักสูตรการคัดแยกขยะรีไซเคิล/ขยะอินทรีย์/ขยะทั่วไป
2.ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับอุปกรณ์สาธิต
3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้ทุกประเภท

 

กิจกรรมขยะแลกไข่ 1 มิ.ย. 2566 1 มิ.ย. 2566

 

1.ประชุม กำหนดเกณฑ์การแลกเปลี่ยนขยะอันตรายกับไข่ไก่
2.ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมขยะอันตรายแลกไข่
3.ลงพื้นที่ ทำกิจกรรมขยะอันตรายแลกไข่ ในพื้นที่ ม.2และ ม.12

 

1.ทำป้ายประชาสัมพันธ์ กิจกรรมขยะอันตรายแลกไข่
2.ได้ขยะอันตรายแลกไข่ จำนวน 100 กก.

 

รณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม 7 มิ.ย. 2566 28 มิ.ย. 2566

 

1.ประชุมชี้แจง การทำกิจกรรมรณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
2.ลงพื้นที่ พัฒนาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ม.5และ ม.12

 

1.ได้รณรงค์การแยกขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ ม.5และ ม.12

 

กิจกรรมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา 1 ก.ย. 2566 1 ก.ย. 2566

 

1.มีการประชุมกิจกรรมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 1 โดยกรรมการช่วยกันติดตามผลการทำกิจกรรม

 

1.กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะผ่านโรงเรียนขยะตำบล  จำนวน 1 รุ่น เป็นวัดต้นแบบในการจัดการขยะ
2.กิจกรรมรณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม ฯ ประกอบด้วย จนท. อสม. ผู้นำชุมชนและตัวแทนประชาชน ได้ร่วมทำกิจกรรม จำนวน 2 ครั้ง ในการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะ
3.กิจกรรมขยะแลกไข่ โดยใช้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการฯคัดแยกขยะและนำขยะที่คัดแยกมาแลกไข่ไก่
มีหมู่บ้านต้นแบบในการคัดแยกขยะอันตราย นำมาแลกไข่ จำนวน 2 หมู่บ้าน และมีครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 ครัวเรือน และได้ปริมาณขยะอันตราย จำนวน 99.5 กิโลกรัม