กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ ส่งเสริมสุขภาพทางสายตาผู้สูงอายุ ตำบลตุยง ปี 66 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสิริภัทร ไชยกิจ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพทางสายตาผู้สูงอายุ ตำบลตุยง ปี 66

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3065-3-01 เลขที่ข้อตกลง 22/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพทางสายตาผู้สูงอายุ ตำบลตุยง ปี 66 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพทางสายตาผู้สูงอายุ ตำบลตุยง ปี 66



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพทางสายตาผู้สูงอายุ ตำบลตุยง ปี 66 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3065-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,945.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ พบว่ามีผู้ที่มีปัญหาทางสายตาเพิ่มจำนวนมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งตามพระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕ ได้เน้นหลักการสร้างเสริมสุขภาพ อีกทั้งยังสนับสนุนการสร้างแนวนโยบายให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาค เท่าเทียมกัน รวมถึงให้ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กร หน่วยงานต่างๆได้มีส่วนร่วมในการช่วยเสริมสร้างสุขภาพ ได้ช่วยเหลือกลุ่มในวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นสายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาทางสายตาให้กับผู้ที่มีปัญหาทางด้านสายตาในวัยผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้ยากไร้ทั่วไป ตาเป็นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นเมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับสายตา อาจทำให้เกิดการดำรงชีวิตเปลี่ยนไป ดังนั้นการดูแลรักษาที่เกี่ยวข้องกับระบบสายตา จึงมีความจำเป็นและสำคัญมากสำหรับทุกคน ซึ่งปัญหาทางสายตาเป็นปัญหาหนึ่งที่พบได้ทุกเพศทุกวัย แต่ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุ ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาการเสื่อมของดวงตาตามธรรมชาติเมื่อมีอายุมากขึ้น ซึ่งปัญหาทางสายตาที่พบบ่อยเช่นสายตายาว สายตาเอียง ต้อกระจก จอประสาทตาเสื่อม เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ไขได้โดยการสวมใส่แว่นสายตาที่เหมาะสม และจากการสำรวจและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้านจำนวน 1,310 คนพบผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงด้านสายตา จำนวน 328 คน คิดเป็นร้อยละ 25.03 และต้องการเข้ารับการตรวจรักษาจำนวน 100 คน ดังนั้นทางศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ และคนพิการ หมู่ 3 ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง โรงพยาบาลหนองจิก ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพดวงตาของผู้สูงอายุ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีความผิดปกติทางสายตาได้ทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพทางสายตาผู้สูงอายุ ตำบลตุยง ปี 66 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตุยงได้รับการตรวจคัดกรองและแก้ไขปัญหาด้านสายตา และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติเพื่อสร้างเสริมสุขภาพตาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เป็นภาวะพึ่งพิงของครอบครัวและสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการตรวจเบี้องต้นและส่งต่อเพื่อรับการักษาอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตา ด้านการมองเห็นสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียงได้รับการตรวจสายตาได้รับแว่นตาที่มีคุณภาพมองเห็นได้ชัดขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
  2. ตรวจคัดกรองผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาเบี้องต้นและส่งต่อเพื่อรับการักษาอย่างถูกต้อง
  3. ตรวจวัดสายตาผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการมองเห็น วัดสายตาประกอบแว่นในรายที่มีปัญหาสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียง
  4. ติดตามผลการดำเนินงาน การเยี่ยมบ้าน ประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการตรวจเบี้องต้นและส่งต่อเพื่อรับการักษาอย่างถูกต้อง
  2. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตา ด้านการมองเห็นสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียงได้รับการตรวจสายตาได้รับแว่นตาที่มีคุณภาพมองเห็นได้ชัดขึ้น
  3. ผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน
  4. มีการนำข้อมูลที่ได้รับจากการตรวจ คัดกรองสุขภาพไปแก้ไขปัญหาในขั้นตอนต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน

วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงานแก่คณะทำงาน จำนวน 10 คน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มมื้อละ 25 บาท จำนวน 15 คน คิดเป็นเงิน 375 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สามารถวางแผนและมอบหมายงานได้อย่างเป็นระบบ
  2. ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้่าใจในแผนงานโครงการ
  3. มีการประชาสัมพันธ์แก่ผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมโครงการ

 

0 0

2. ตรวจวัดสายตาผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการมองเห็น วัดสายตาประกอบแว่นในรายที่มีปัญหาสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียง

วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจวัดสายตาผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการมองเห็น วัดสายตาประกอบแว่นในรายที่มีปัญหาสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียง และอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุเรื่องการดูแลสายตาและขั้นตอนในการตรวจวัดสายตา
งบประมาณ
- ค่าตรวจวัดสายตาผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการมองเห็นเพื่อประกอบแว่นในรายที่มีปัญหาสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียง จำนวน 100 คนๆละ 50 บาทเป็นเงิน 5,000 บาท
- ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ จำนวน 1 แผ่นเป็นเงิน 720 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน250 คน x 25 บาท เป็นเงิน6,250 บาท
- ค่าแว่นสายตาผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตาที่ต้องใส่แว่นถัวเฉลี่ยเป็นเงิน20,000บาท - ค่าวิทยากรในการให้ความรู้และดำเนินงาน เป็นเงิน 600 บาท รวมเงินทั้งหมดในกิจกรรมนี้ 32,570บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลสายตาและสามารถเข้ารับการตรวจวัดสายตาตามขั้นตอน 2.ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการตรวจเบี้องต้นและส่งต่อเพื่อรับการักษาอย่างถูกต้องคิดเป็นร้อยละ 90
3.ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตาด้านการมองเห็นสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียงได้รับการตรวจสายตาและได้รับแว่นตาที่มีคุณภาพมองเห็นได้ชัดขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ปัจจุบันนี้ พบว่ามีผู้ที่มีปัญหาทางสายตาเพิ่มจำนวนมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งตามพระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕ ได้เน้นหลักการสร้างเสริมสุขภาพ อีกทั้งยังสนับสนุนการสร้างแนวนโยบายให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาค เท่าเทียมกัน รวมถึงให้ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กร หน่วยงานต่างๆได้มีส่วนร่วมในการช่วยเสริมสร้างสุขภาพ ได้ช่วยเหลือกลุ่มในวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นสายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาทางสายตาให้กับผู้ที่มีปัญหาทางด้านสายตาในวัยผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้ยากไร้ทั่วไป ตาเป็นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นเมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับสายตา อาจทำให้เกิดการดำรงชีวิตเปลี่ยนไป ดังนั้นการดูแลรักษาที่เกี่ยวข้องกับระบบสายตา จึงมีความจำเป็นและสำคัญมากสำหรับทุกคน ซึ่งปัญหาทางสายตาเป็นปัญหาหนึ่งที่พบได้ทุกเพศทุกวัย แต่ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุ ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาการเสื่อมของดวงตาตามธรรมชาติเมื่อมีอายุมากขึ้น ซึ่งปัญหาทางสายตาที่พบบ่อยเช่นสายตายาว สายตาเอียง ต้อกระจก จอประสาทตาเสื่อม เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ไขได้โดยการสวมใส่แว่นสายตาที่เหมาะสม และจากการสำรวจและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้านจำนวน 1,310 คนพบผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงด้านสายตา จำนวน 328 คน คิดเป็นร้อยละ 25.03 และต้องการเข้ารับการตรวจรักษาจำนวน 100 คน ดังนั้นทางศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ และคนพิการ หมู่ 3 ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง โรงพยาบาลหนองจิก ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพดวงตาของผู้สูงอายุ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีความผิดปกติทางสายตาได้ทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพทางสายตาผู้สูงอายุ ตำบลตุยง ปี 66 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตุยงได้รับการตรวจคัดกรองและแก้ไขปัญหาด้านสายตา และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติเพื่อสร้างเสริมสุขภาพตาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เป็นภาวะพึ่งพิงของครอบครัวและสังคมต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการตรวจเบี้องต้นและส่งต่อเพื่อรับการักษาอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการตรวจเบี้องต้นและส่งต่อเพื่อรับการักษาอย่างถูกต้องคิดเป็นร้อยละ 90
100.00 90.00 80.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตา ด้านการมองเห็นสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียงได้รับการตรวจสายตาได้รับแว่นตาที่มีคุณภาพมองเห็นได้ชัดขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาสายตาด้านการมองเห็นสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียงได้รับการตรวจสายตาได้รับแว่นตาที่มีคุณภาพมองเห็นได้ชัดขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100
100.00 100.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการตรวจเบี้องต้นและส่งต่อเพื่อรับการักษาอย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตา ด้านการมองเห็นสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียงได้รับการตรวจสายตาได้รับแว่นตาที่มีคุณภาพมองเห็นได้ชัดขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินงาน (2) ตรวจคัดกรองผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสายตาเบี้องต้นและส่งต่อเพื่อรับการักษาอย่างถูกต้อง (3) ตรวจวัดสายตาผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการมองเห็น วัดสายตาประกอบแว่นในรายที่มีปัญหาสายตาสั้น ยาวและสายตาเอียง (4) ติดตามผลการดำเนินงาน การเยี่ยมบ้าน ประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพทางสายตาผู้สูงอายุ ตำบลตุยง ปี 66

รหัสโครงการ 66-L3065-3-01 รหัสสัญญา 22/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ส่งเสริมสุขภาพทางสายตาผู้สูงอายุ ตำบลตุยง ปี 66 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3065-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสิริภัทร ไชยกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด