กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและคณะกรรมการศูนย์ (กลไกขับเคลื่อน) 19 เม.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย/เก็บข้อมูลการตรวจสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย 21 เม.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุ 26 เม.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 4 ถอดบทเรียนและตรวจสุขภาพกลุ่มเป้าหมายหลังร่วมกิจกรรม 23 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงานสรุปและประเมินผล 30 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมประชุมคณะทำงานและคณะกรรมการศูนย์ (กลไกขับเคลื่อน) 19 เม.ย. 2566 19 เม.ย. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการ
2.กำหนดหลักสูตร/กิจกรรม ในโครงการ

 

1.ผู้เข้าประชุม เป็นคณะทำงาน จำนวน 30 คน
2.มีกิจกรรมทางกาย หลากหลายที่เหมาะกับวัยของผู้สูงอายุ
3.มีแบบกายอุปกรณ์ ช่วยยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
4.มีแบบฟอร์มการตรวจสุขภาพ ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ

 

กิจกรรมประชุมสร้างความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย/เก็บข้อมูลการตรวจสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย 21 เม.ย. 2566 21 เม.ย. 2566

 

1.ประชุมสร้างความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย
2.เก็บข้อมูลสุขภาพ

 

1.ได้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 70 คน
2.ได้ข้อมูลสุขภาพ ได้แก่ ผลตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด อยู่ในระดับเสี่ยง 13.85 จำนวน 30 คน ปลอดภัย 86.15 จำนวน 40 คน

 

กิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุ 26 เม.ย. 2566 27 เม.ย. 2566

 

1.เรียนรู้เชิงปฏิบัติการกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุ
2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้สูงอายุ
3.กิจกรรมอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ แบ่งกลุ่มตามเมนูสุขภาพ ดังนี้
-แกงเลียงผักเหมียง
-ยำผักกูดปลอดสารพิษ
-ข้าวยำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
4.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้สูงอายุ
5.การออกกำลังกายและการฟื้นฟูสภาพ (โนราบิก)
6.กิจกรรมทางกายด้วยกายอุปกรณ์ลดโรค
7.การออกกำลังกายเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพกายใจ
8.การผ่อนคลายความเครียดสำหรับผู้สูงอายุ

 

1.ผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คน
2.ผู้สูงอายุได้ร่วมกิจกรรมทุกวันพุธ เวลา 08.00 น. - 15.00 น.
3.ผู้อายุได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกำลังกาย กิจกรรมยืดเหยียดกล้ามเนื้อด้วยกายอุปกรณ์
4.ผู้สูงอายุมีกิจกรรมเพียงพอทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
5.ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีขึ้นทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
6.ผู้สูงอายุได้พบปะและทำกิจกรรมร่วมกัน รู้จักเข้าสังคมมากขึ้น
7.เกิดเครือข่ายจิตอาสา รับ-ส่งผู้สูงอายุ เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการฯ

 

กิจกรรมถอดบทเรียนและตรวจสุขภาพกลุ่มเป้าหมายหลังร่วมกิจกรรม 23 ส.ค. 2566 8 ส.ค. 2566

 

1.ถอดบทเรียนและตรวจสุขภาพกลุ่มเป้าหมายหลังร่วมกิจกรรม
2.เจาะเลือดตรวจสารเคมี หลังเข้าร่วมโครงการ

 

1.ข้อมูลตรวจสารเคมีในเลือด หลังเข้าร่วมโครงการ อยู่ในระดับเสี่ยง 13.85 จำนวน 6 คน ปลอดภัย 86.15 จำนวน 60 คน
2.ผู้สูงอายุได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้ไม่พบสารเคมีตกค้างในเลือดเพิ่มขึ้น
3.ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ 4.ผู้สูงอายุได้รวมกลุ่ม เข้าสังคม ลดภาวะการติดบ้าน

 

กิจกรรมประชุมคณะทำงานสรุปและประเมินผล 30 ส.ค. 2566 30 ส.ค. 2566

 

1.ประชุม คณะทำงานและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
2.สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โรงเรียนผู้สูงอายุประจำปี 2566

 

1.รายงานผลการดำเนินงาน และค่าใช้จ่าย ในการดำเนินโครงการ
2.สรุปปัญหา อุปสรรค ผลการดำเนินโครงการ และวิธีการแก้ปัญหา
3.วิธีการต่อยอดโครงการในปีต่อไป