กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการใจใส่ใจ สานสายใยจากแม่สู่ลูก ”
ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางน้องนุช หนูนาค




ชื่อโครงการ โครงการใจใส่ใจ สานสายใยจากแม่สู่ลูก

ที่อยู่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8428-02-01 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใจใส่ใจ สานสายใยจากแม่สู่ลูก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใจใส่ใจ สานสายใยจากแม่สู่ลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใจใส่ใจ สานสายใยจากแม่สู่ลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8428-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,915.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 162 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (Well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป ปัญหาในการดำเนินส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมาก สถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กไทยในฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข พบเด็กอ้วนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด คือไม่เกินร้อยละ 10 ตั้งแต่ปี 2561-2563 จากร้อยละ 11.8, 13.6 และ 12.78 ตามลำดับ และเด็กเตี้ย พบสูงกว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละ 5 ในช่วงเวลาเดียวกัน ร้อยละ 5.7 8.9 และ 5.9 ตามลำดับ การแก้ไขปัญหาดังกล่าวต้องบูรณาการภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน สู่การขับเคลื่อนระบบการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนวัยรุ่นระยะยาว ควบคู่กับการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในส่วนภูมิภาคและภาคีเครือข่ายด้านการศึกษา ให้มีความฉลาดรู้ทางการเคลื่อนไหว (Physical Literacy) และมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) พร้อมที่จะขับเคลื่อนให้เด็กเพิ่มกิจกรรมทางกาย กินอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ทุกมื้อ และนอนหลับอย่างเพียงพอ 9-11 ชั่วโมงต่อวัน จากสภาพปัญหาดังกล่าว ชมรม อสม.ตำบลนาท่ามใต้ จึงได้จัดทำโครงการใจใส่ใจสานสายใยจากแม่สู่ลูก เพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-5 ปี
  2. ข้อที่ 2 เพื่อคัดกรองพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตามช่วงอายุที่กำหนด
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีที่ได้รับการตรวจพัฒนาการพบล่าช้า ได้ส่งต่อเพื่อกระตุ้นให้สมวัย
  4. ข้อที่ 4 เพื่อส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
  5. ข้อที่ 5 เพื่อให้มารดาและลูกหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
  6. ข้อที่ 6 เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมคัดกรองภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี
  2. 3. กิจกรรมประกวดหนูน้อยนมแม่
  3. 5. กิจกรรมเยี่ยมมารดาและลูกหลังคลอด
  4. 6. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง
  5. 2. กิจกรรมคัดกรองพัฒนาการเด็กตามกลุ่มวัย
  6. 4. กิจกรรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 130
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 12
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม. มีความรู้เรื่องพัฒนาการเด็กและสามารถทดสอบพัฒนาการเด็กได้
  2. ผู้ปกครองเด็กสามารถดูพัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการของบุตรตนเองได้
  3. เด็กที่มีพัฒนาการผิดปกติได้รับส่งต่อเพื่อกระตุ้นพัฒนาการ
  4. ร้อยละ 65 ของเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
  5. ร้อยละ 95 ของเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
  6. ร้อยละ 60 ของมารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
  7. ร้อยละ 75 ของมารดาและลูกหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
  8. ลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 65 ของเด็กแรกเกิด -5 ปี สูงดีสมส่วน
80.00 80.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อคัดกรองพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตามช่วงอายุที่กำหนด
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 90 ของเด็กแรกเกิด -5 ปี ทั้งหมดตามช่วงอายุที่กำหนด ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ -ร้อยละ80 ของเด็กแรกเกิด-5ปีทั้งหมดตามช่วงอายุที่กำหนดมีพัฒนาการสมวัย
80.00 80.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีที่ได้รับการตรวจพัฒนาการพบล่าช้า ได้ส่งต่อเพื่อกระตุ้นให้สมวัย
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 20 ของเด็กอายุ แรกเกิด -5 ปี ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ พบสงสัยล่าช้า - ร้อยละ 95 ของเด็กอายุ แรกเกิด -5 ปี ทั้งหมดตามช่วงอายุที่กำหนด มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม
80.00 80.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 60 ของมารดาหลังคลอดสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
80.00 80.00

 

5 ข้อที่ 5 เพื่อให้มารดาและลูกหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 75 ของมารดาและลูกหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
80.00 80.00

 

6 ข้อที่ 6 เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์)
ตัวชี้วัด : - อัตราการคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์) ลดลงร้อยละ 5
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 162
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 130
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 12
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-5 ปี (2) ข้อที่ 2 เพื่อคัดกรองพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตามช่วงอายุที่กำหนด (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีที่ได้รับการตรวจพัฒนาการพบล่าช้า ได้ส่งต่อเพื่อกระตุ้นให้สมวัย (4) ข้อที่ 4 เพื่อส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน (5) ข้อที่ 5 เพื่อให้มารดาและลูกหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ (6) ข้อที่ 6 เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมคัดกรองภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี (2) 3. กิจกรรมประกวดหนูน้อยนมแม่ (3) 5. กิจกรรมเยี่ยมมารดาและลูกหลังคลอด (4) 6. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง (5) 2. กิจกรรมคัดกรองพัฒนาการเด็กตามกลุ่มวัย (6) 4. กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการใจใส่ใจ สานสายใยจากแม่สู่ลูก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8428-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางน้องนุช หนูนาค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด