กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชะลอชรา ชีวายืนยาว (wellness plan) ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลระแงะ
วันที่อนุมัติ 17 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 17 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 37,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวชุธิมา มีดิง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัย (aged society) เนื่องจากจำนวนประชากรผู้สูงอายุ ได้มีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งในเชิงขนาดและสัดส่วน โดยในปี พ.ศ. 2562 มีจำนวนผู้สูงอายุ ร้อยละ 17.5 และในปี 2563 จะมีครั้งแรกที่ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าประชากรวัยเด็ก ในอนาคตอันใกล้ประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอีกมาก ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์ (complete aged society) คือ มีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 28 ถึงแม้ว่าผู้สูงอายุจะมีปัญหาด้านสุขภาพอนามัยและความต้องการ การดูแลเอาใจใส่จากครอบครัวและชุมชน แต่ถ้าผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาพจิตดี ก็จะสามารถช่วยเหลือสังคมได้อย่างมีคุณค่า ซึ่งการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy) จะทำให้ผู้สูงอายุเข้าถึงทำความเข้าใจข้อมูลสุขภาพกลั่นกรอง ประเมิน และตัดสินใจ เพื่อการนำข้อมูลไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเลือกใช้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม การประเมินนเองตามแนวทางการประเมินเพื่อรับรู้สถานการณ์สุขภาพ และความเสี่ยงด้านสุขภาพ เช่น พฤติกรรมสุขภาพที่พึ่งประสงค์ ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (ADL) และการประเมินตามองค์ประกอบ 6 องค์ประกอบและจัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว หรือ wellness plan ซึ่งเป็นเฉพาะราย เพื่อพัฒนาทักษะ กาย ใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพดี แล้วนำแผน lndividual wellness plan สู่การปฏิบัติจริง รวมถึงการสนับสนุนและติดตามให้มีการปฏิบัตตามแผนน่าจะเป็นอีกทางหนึ่งที่สามารถทำได้และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวผู้สูงอายุดังนั้นโครงการนี้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ของครอบครัวในการดูแลสุขภาพของตนเอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างความรอบรุ้ด้านสุขภาพ (Health literacy) แก่ผู้สูงอายุ

ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่เข้าอบรมมีแผนส่งเสริมสุขภาพ ชะลอชรา ชีวายืนยาว ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพ

0.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบถึงความเสี่่ยงทางด้านสุขภาพของตนเอง

ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่เข้าอบรมมีแผนส่งเสริมสุขภาพ ชะลอชรา ชีวายืนยาว ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพ

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
17 ม.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่อง Health literacy ในผู้สูงอายุ 0 26,700.00 -
17 ม.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ประชุมติดตามผล 0 11,000.00 -
รวม 0 37,700.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เลือกใช้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 มี.ค. 2566 00:00 น.