กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เฉลิม


“ โครงการ ส่งเสริมผู้สูงวัย ใส่ใจข้อเข่า ด้วยภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวบัลกีส มามะ

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมผู้สูงวัย ใส่ใจข้อเข่า ด้วยภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2503-01-04 เลขที่ข้อตกลง 04/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กรกฎาคม 2566 ถึง 20 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ส่งเสริมผู้สูงวัย ใส่ใจข้อเข่า ด้วยภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมผู้สูงวัย ใส่ใจข้อเข่า ด้วยภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดข้อเข่า และสามารถทำแผ่นพอกเข่าสมุนไพรใช้ที่บ้านเองได้ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้เองที่บ้าน 4. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพในชุมชนสามารถนำความรู้ไปดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและอาสาสมัครสาธารณสุข (2) อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและประชาชนทั่วไปที่สนใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคกระดูกและข้อเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้สูงอายุ เนื่องจากอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และสถิติผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อในคนไทย พ.ศ.2553 พบว่าผู้ป่วยโรคข้อมากกว่า 6 ล้านคน และข้อที่เสื่อมมากที่สุดคือข้อเข่า เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่ที่ต้องรองรับน้ำหนักของร่างกายโดยตรง ทั้งยังทำหน้าที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา ทำให้ข้อเสื่อมได้ง่าย โรคข้อเข่าเสื่อม หมายถึง การที่กระดูกอ่อนของข้อมรการเสื่อมสภาพ ทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับน้ำหนักและมีการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำหล่อเลี้ยงเข่า ทำให้มีอาการปวด บวม แดงร้อนที่เข่า ซึ่งเป็นโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงการเสื่อมในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ในจำนวนนี้กว่าร้อยละ 50 เป็นกลุ่มผุ้สูงอายุมากกว่า 65 ปี ตำแหน่งของข้อที่มีการเสื่อม ได้แก่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อมือ กระดูกสันหลัง และข้อเท้า แต่ข้อที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อการเจ็บป่วย และต้องเข้ารับบริการมากที่สุด คือ ข้อเข่า ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว จากผลการสำรวจสุขภาวะของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป โดยการสำรวจของอาสาสมัครสาธารณสุข พ.ศ. 2565 พบว่ามีผู้สูงอายุทั้งหมด 541 คน การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตไทยโดยใช้การแพทย์แผนไทยหรือใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่า การบริหารด้วยท่าฤาษีดัดตน การบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่า เพื่อลดอาการข้อเข่าเสื่อมมาปฏิบัติดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น ช่วยลดปัญหาผลข้างเคียงจากการใช้ยาแผนปัจจุบัน เพื่อลดอาการปวดเข่าโดยหันมาใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นแทน อีกทั้งเพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแก่อาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อนำความรู้ไปดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนได้อีกด้วย จากเหตุผลดังกล่าว งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมผู้สูงอายุ ใส่ใจข้อเข่า ด้วยภุูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุและอาการของโรคข้อเข่าเสื่อม การส่งเสริมการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น เพื่อลดอาการปวดเข่า โดยการสาธิตการทำแผ่นยาพอกเข่าสมุนไพร เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดข้อเข่า และสามารถทำแผ่นพอกเข่าสมุนไพรใช้ที่บ้านเองได้ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้เองที่บ้าน 4. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพในชุมชนสามารถนำความรู้ไปดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและแกนนำสุขภาพในชุมชน
  2. อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและแกนนำสุขภาพในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม 2. ผู้สูงอายุสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่า และสามารถทำแผ่นยาพอกเข่าสมุนไพรใช้ที่บ้านเองได้ 3. ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติที่บ้านเองได้ 4. แกนนำสุขภาพในชุมชนสามารถนำความรู้การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาะข้อเข่าเสื่อมในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและแกนนำสุขภาพในชุมชน

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • 08.30 - 08.45 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ
  • 08.45 - 09.00 น. พิธีเปิดโครงการ โดย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเฉลิม
  • 09.00 - 10.30 น. บรรยาย เรือ่ง "รู้รักษา รู้ป้องกัน โรคข้อเข่าเสื่อม" โดยวิทยากร พท.วาสนา  รอแม จาก รพ.สต.บ้านบาโงสะโต
  • 10.30 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  • 10.45 - 12.00 น. บรรยาย เรื่อง " ท่าฤาษีดัดตน ดัดตนแก้เข่าขัด" โดยวิทยากร พท.วาสนา  รอแม จาก รพ.สต.บ้านบาโงสะโต
  • 12.00 -13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • 13.00 - 15.15 น. หัตถการพอกเข่าสมุนไพรเพื่อลดอาการปวดเข่า และสอนวิธีการทำยาพอกเข่าด้วยตนเอง โดยวิทยากร พท.วาสนา  รอแม จาก รพ.สต.บ้านบาโงสะโต
  • 15.15 -15.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  • 15.30 - 16.30 น. ซักถามข้อสงสัย แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ปิดการอบรม โดยวิทยากร พท.วาสนา  รอแม จาก รพ.สต.บ้านบาโงสะโต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม จำนวน 40 คน แกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 20 คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 5 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม
  • ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม จำนวน 40 คน แกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 20 คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 5 คน สามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเช่า และสามารถทำแผ่นยาพอกเข่าสมุนไพรใช้ที่บ้านเองได้
  • ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม จำนวน 40 คน แกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 20 คน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 5 คน สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติเองที่บ้าน
  • แกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 20 คน สามารถนำความรู้ไปดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้
  • เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 5 คน ได้รับความรู้เพิ่มเติม เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่ภาวะข้อเข่าเสื่อมในชุมชน

 

65 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม
  • ผู้สูงอายุสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดข้อเข่า และสามารถทำแผ่นพอกเข่าสมุนไพรใช้ที่บ้านเองได้
  • ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้เองที่บ้าน
  • แกนนำสุขภาพใบชุมชนสามารถนำความรู้ไปดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดข้อเข่า และสามารถทำแผ่นพอกเข่าสมุนไพรใช้ที่บ้านเองได้ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้เองที่บ้าน 4. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพในชุมชนสามารถนำความรู้ไปดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดข้อเข่า และสามารถทำแผ่นพอกเข่าสมุนไพรใช้ที่บ้านเองได้ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้เองที่บ้าน 4. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพในชุมชนสามารถนำความรู้ไปดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและอาสาสมัครสาธารณสุข (2) อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและประชาชนทั่วไปที่สนใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ส่งเสริมผู้สูงวัย ใส่ใจข้อเข่า ด้วยภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2503-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวบัลกีส มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด