โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน ”
ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางจิราพร สงบเงียบ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง
กรกฎาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66 – L4159 -02-22 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66 – L4159 -02-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อ หลายๆโรค นับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะโรคติดต่อที่ทำให้เกิดความสูญเสียแก่ชีวิตค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อหลายๆโรคไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
จากข้อมูลรายงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ ในปี 2565 ปัญหาการระบาดของโรคติดต่อ เช่นไข้เลือดออกโรคโควิด-19โรคมือเท้าปากโรคตาแดงฯลฯจะพบว่าสามารถลดอัตราการป่วยได้ด้วยการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนในชุมชน และการรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ชุมชนรู้ถึงการระบาดของโรคไข้เลือดออก การป้องกันโรคไข้เลือดออกการแพร่เชื้อและการกระจายโรค
โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัย ความร่วมมือจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล ชมรม อสม.บ้านเกาะ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อ ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหาของชุมชน
จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคติดต่อเกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการดูแลสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนในชุมชน เห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน และต้องมีความรู้
ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ ดังนั้นชมรม อสม.รพ.สต.บ้านเกาะได้จัดทำโครงการ ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชนเพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงซึ่งเป็นพาหะนำโรค จัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรคติดต่อ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ
- 2.เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนและองค์กรต่างๆ ในชุมชนในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์ ของสัตว์นำโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 2.อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ
- 3.รณรงค์การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย แหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค และทำลายแหล่งรังโรคในชุมชน
- 1.ประชุมเพื่อหาแนวทางการดำเนินงานชี้แจงผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อ ที่เกิดขึ้นในชุมชน
- ลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ลดแหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค
- ลดการระบาดของโรคไข้เลือดออก โรคติดต่ออื่นๆในพื้นที่ และลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.ประชุมเพื่อหาแนวทางการดำเนินงานชี้แจงผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ
วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมเพื่อหาแนวทางการดำเนินงานชี้แจงผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไม่มีค่าใช้จ่าย
0
0
2. 3.รณรงค์การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย แหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค และทำลายแหล่งรังโรคในชุมชน
วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รณรงค์การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย แหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค และทำลายแหล่งรังโรคในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ป้ายโครงการ ขนาด 1.2*2.4 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 750 บาท
ป้ายประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้ ขนาด 1.2x2.4 เมตร จำนวน 3 ผืนๆละ 750 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท
0
0
3. 2.อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ
วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อX 25 บ.X 60 คน
X 3 รุ่น เป็นเงิน 9,000 บาท
ค่าอาหารกลางวันจำนวน 1 มื้อX 60 บ. X 60 คน
X 3 รุ่น เป็นเงิน 10,800 บาท
ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท X 3รุ่น เป็นเงิน 4,500 บาท
ปากกา จำนวน 180 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 900 บาท
สมุด จำนวน 180 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไฟฉาย จำนวน 30 อันๆละ 100 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อได้
180.00
162.00
2
2.เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนและองค์กรต่างๆ ในชุมชนในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์ ของสัตว์นำโรค
ตัวชี้วัด : สามารถลดการระบาดของโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและสัตว์นำโรค ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อ
180.00
180.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
180
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ (2) 2.เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนและองค์กรต่างๆ ในชุมชนในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์ ของสัตว์นำโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ (2) 3.รณรงค์การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย แหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค และทำลายแหล่งรังโรคในชุมชน (3) 1.ประชุมเพื่อหาแนวทางการดำเนินงานชี้แจงผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66 – L4159 -02-22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจิราพร สงบเงียบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน ”
ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางจิราพร สงบเงียบ
กรกฎาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66 – L4159 -02-22 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66 – L4159 -02-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อ หลายๆโรค นับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะโรคติดต่อที่ทำให้เกิดความสูญเสียแก่ชีวิตค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อหลายๆโรคไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
จากข้อมูลรายงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ ในปี 2565 ปัญหาการระบาดของโรคติดต่อ เช่นไข้เลือดออกโรคโควิด-19โรคมือเท้าปากโรคตาแดงฯลฯจะพบว่าสามารถลดอัตราการป่วยได้ด้วยการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนในชุมชน และการรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ชุมชนรู้ถึงการระบาดของโรคไข้เลือดออก การป้องกันโรคไข้เลือดออกการแพร่เชื้อและการกระจายโรค
โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัย ความร่วมมือจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล ชมรม อสม.บ้านเกาะ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อ ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหาของชุมชน
จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคติดต่อเกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการดูแลสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนในชุมชน เห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน และต้องมีความรู้
ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ ดังนั้นชมรม อสม.รพ.สต.บ้านเกาะได้จัดทำโครงการ ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชนเพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงซึ่งเป็นพาหะนำโรค จัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรคติดต่อ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ
- 2.เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนและองค์กรต่างๆ ในชุมชนในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์ ของสัตว์นำโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 2.อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ
- 3.รณรงค์การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย แหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค และทำลายแหล่งรังโรคในชุมชน
- 1.ประชุมเพื่อหาแนวทางการดำเนินงานชี้แจงผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 180 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อ ที่เกิดขึ้นในชุมชน
- ลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ลดแหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค
- ลดการระบาดของโรคไข้เลือดออก โรคติดต่ออื่นๆในพื้นที่ และลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.ประชุมเพื่อหาแนวทางการดำเนินงานชี้แจงผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมเพื่อหาแนวทางการดำเนินงานชี้แจงผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไม่มีค่าใช้จ่าย
|
0 | 0 |
2. 3.รณรงค์การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย แหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค และทำลายแหล่งรังโรคในชุมชน |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรณรงค์การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย แหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค และทำลายแหล่งรังโรคในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นป้ายโครงการ ขนาด 1.2*2.4 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 750 บาท ป้ายประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้ ขนาด 1.2x2.4 เมตร จำนวน 3 ผืนๆละ 750 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท
|
0 | 0 |
3. 2.อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อX 25 บ.X 60 คน
X 3 รุ่น เป็นเงิน 9,000 บาท
ค่าอาหารกลางวันจำนวน 1 มื้อX 60 บ. X 60 คน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อได้ |
180.00 | 162.00 |
|
|
2 | 2.เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนและองค์กรต่างๆ ในชุมชนในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์ ของสัตว์นำโรค ตัวชี้วัด : สามารถลดการระบาดของโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและสัตว์นำโรค ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อ |
180.00 | 180.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 180 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 180 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ (2) 2.เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนและองค์กรต่างๆ ในชุมชนในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์ ของสัตว์นำโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ (2) 3.รณรงค์การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย แหล่งเพาะพันธ์สัตว์และแมลงนำโรค และทำลายแหล่งรังโรคในชุมชน (3) 1.ประชุมเพื่อหาแนวทางการดำเนินงานชี้แจงผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66 – L4159 -02-22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจิราพร สงบเงียบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......