กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2566 ”

ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายชยุต ขุนรักษาพล

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7499-1-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7499-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อนำโดยยุงลาย ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา เป็นโรคประจำถิ่นของประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยมีลักษณะของภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อยุงลาย ซึ่งผลจากการสุ่มสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย พบว่า สถานที่สำคัญต่างๆ โดยเฉพาะศาสนสถาน สถานที่ราชการและโรงเรียน มีสัดส่วนการสำรวจพบลูกน้ำยุงลายมากที่สุด ซึ่งสถานที่เหล่านี้เป็นสถานที่ที่มีการรวมตัวของประชาชนเพื่อมาทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย จึงทำให้ประเทศไทยมีโอกาสที่จะมีการแพร่ระบาดของโรคติดต่อนำโดยยุงลายทั้ง 3 โรค ในหลายพื้นที่ การเกิดโรคไข้เลือดออกในปัจจุบันมีรูปแบบการระบาดที่ไม่แน่นอน โดยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมามีทั้งการระบาด แบบปีเว้นปี ปีเว้นสองปี หรือปีเว้นสามปี สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2565 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2565 พบผู้ป่วย 129 ราย และปี 2566 ณ วันที่ 11 มกราคม 2566 พบผู้ป่วย 207 ราย เป็นเพศชาย 121 ราย เพศหญิง 86 ราย อยู่ในกลุ่มอายุ 5-14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มที่พบมากที่สุด สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่สำคัญ ได้แก่ ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า รวมถึงมีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายบริเวณที่พักอาศัย, สถานการณ์โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2565 พบผู้ป่วย 1,370 ราย และสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสซิกาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 มีรายงานผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2565 พบผู้ป่วย 66 ราย แม้ว่าสถานการณ์การระบาดในภาพรวมของปัจจุบันจะมีแนวโน้มจำนวนผู้ป่วยลดลงแต่ยังคงมีการแพร่เชื้ออย่างต่อเนื่องและกระจายทั่วภูมิภาค
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลาย โดยเฉพาะการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยน แนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย โรคติดเชื้อไวรัสซิกา เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคติดต่อจากยุงลายเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่องจึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งดำเนินการ
      เทศบาลตำบลสทิงพระ เห็นความสำคัญของการระบาดของโรคไข้เลือดออก เพราการระบาดของโรคไข้เลือดส่วนมากจะพบในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดี และนิสัยของยุงชอบออกหากินตอนกลางวัน จึงสันนิษฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายของโรคจะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และศาสนาสถาน ด้วยเหตุนี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการดำเนินการ ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อจากยุงลาย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสทิงพระ จึงได้จัดทำโครงการ “รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2566” ขึ้น เพื่อเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อจากยุงลาย ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชน วัด โรงเรียนตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลัง ความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค เพื่อรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในครัวเรือนที่พักอาศัยและชุมชนของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคปวดข้อยุงลาย และมีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองและปฏิบัติตนตามาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3โรค
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง การป้องกัน แลควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  2. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  4. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ใส่ทรายอะเบท ขณะเกิดโรคและเฝ้าระวังหลังเกิดโรค (กรณีมีเคส)
  5. กิจกรรมรณรงค์ เคาะประตูบ้านและลงสำรวจลูกน้ำยุงลาย โดยจัดกิจกรรมรณรงค์ทุกวันศุกร์ มีการสำรวจและหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย พร้อมใส่ทรายอะเบทกำจัดลุกน้ำยุงลาย
  6. กิจกรรมพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง จำนวน 2 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย เรื่องการจัดการบ้านเรือน และสภาพสิ่งแวดล้อมรอบบ้านตามมาตรการ 3 เก็บป้องกัน 3โรค
  2. บ้านเรือนที่อยู่อาศัย และชุมชนหมู่บ้านสะอาด น่าอยู่ ลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ
  3. ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคปวดข้อยุงลาย และโรคระบาดติดต่อในชุมชน/หมู่บ้านลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง จำนวน 2 ครั้ง

วันที่ 13 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยงเขตพื้นที่ จำนวน 2 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

0 0

2. กิจกรรมรณรงค์ เคาะประตูบ้านและลงสำรวจลูกน้ำยุงลาย โดยจัดกิจกรรมรณรงค์ทุกวันศุกร์ มีการสำรวจและหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย พร้อมใส่ทรายอะเบทกำจัดลุกน้ำยุงลาย

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์ เคาะประตูบ้านและลงสำรวจลูกน้ำยุงลาย โดยจัดกิจกรรมรณรงค์ทุกวันศุกร์ มีการสำรวจและหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย พร้อมใส่ทรายอะเบทกำจัดลุกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายลดลง
  2. กลุ่มเสี่ยงน้อยลง

 

0 0

3. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ใส่ทรายอะเบท ขณะเกิดโรคและเฝ้าระวังหลังเกิดโรค (กรณีมีเคส)

วันที่ 28 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สเปย์ฉีดในบ้านผู้ป่วย และใส่ทรายอะเบทในภาชนะที่มีน้ำ
  2. พ่นสารเคมีกําจัดยุงดําเนินในรัศมี 100 เมตร และตามแนวทางข้างต้น จำนวน 2 ครั้งต่อเคส ระยะห่าง 1 สัปดาห์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคปวดข้อยุงลาย และมีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองและปฏิบัติตนตามาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3โรค
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการปฏิบัติตนตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 ของเป้าหมายโครงการ

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย หรือมีจำนวนลดลงจากปีที่ผ่านมา

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคปวดข้อยุงลาย และมีความตระหนัก  และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองและปฏิบัติตนตามาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3โรค (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง การป้องกัน แลควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (2) กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (4) กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ใส่ทรายอะเบท ขณะเกิดโรคและเฝ้าระวังหลังเกิดโรค (กรณีมีเคส) (5) กิจกรรมรณรงค์ เคาะประตูบ้านและลงสำรวจลูกน้ำยุงลาย โดยจัดกิจกรรมรณรงค์ทุกวันศุกร์ มีการสำรวจและหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย พร้อมใส่ทรายอะเบทกำจัดลุกน้ำยุงลาย (6) กิจกรรมพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง จำนวน 2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7499-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชยุต ขุนรักษาพล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด