กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการอบรมทำสมุนไพร ที่ใช้เป็นยารักษาโรค (ทำลูกประคบ,น้ำมันนวด) ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายชาญชัย ศรีคงคา

ชื่อโครงการ โครงการอบรมทำสมุนไพร ที่ใช้เป็นยารักษาโรค (ทำลูกประคบ,น้ำมันนวด)

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5273-2-6 เลขที่ข้อตกลง 14/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมทำสมุนไพร ที่ใช้เป็นยารักษาโรค (ทำลูกประคบ,น้ำมันนวด) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมทำสมุนไพร ที่ใช้เป็นยารักษาโรค (ทำลูกประคบ,น้ำมันนวด)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมทำสมุนไพร ที่ใช้เป็นยารักษาโรค (ทำลูกประคบ,น้ำมันนวด) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5273-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 เมษายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้านดั้งเดิม ที่มีอยู่คู่กับประเทศไทยมานาน ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคม วัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธ์ และรุปแบบการรักษา มีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด ตลอดจนการรักษาทางจิตใจ โดยเฉพาะการจัดการสุขภาพทีา่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนา และการถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ ขาดการสืบทอด และผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ซึ่งนับวันจะมีจำนวนลดลง ทางผู้จัดทำโครงการจึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว เนื่องจากในปี 2563 ที่ผ่านมาตำบลฉลุงมีผู้ป่วยจากอาการปวดเมื่อย เคล็ดขัดยอก เหนื่อยจากการทำงานหนักในหลายหมู่บ้าน มีผู้ป่วยมากขึ้นเรื่่อย ๆ ซึ่งควรร่วมมือกัน แก้ปัญหาเริ่มจากในระดับของหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการพืชสมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษาโรค (ทำลูกประคบ น้ำมันนวด) ในพื้้นที่ตำบลฉลุง เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองและชุมชน และช่วยส่งเสริมให้สุขภาพของประชาชนในพื้นที่มีร่างกายที่แข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมได้มีความรู้เรื่องยาสมุนไพร ในการรักษาโรคเบื้องต้น
  2. ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้พึ่งพาตนเองในการรักษาโรค ดูแลสุขภาพ โดยการใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ
  2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพเบื้องต้น โดยสมุนไพรเบื้องต้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนผู้เข้าอบรมได้มีความรู้เรื่องสมุนไพรที่สามารถนำมาเป็นยารักษาโรค และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2.สามารถทำให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการใช้สมุนไพรในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 3.ลดจำนวนผู้ป่วยโรคปวดเมื่อยให้ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพเบื้องต้น โดยสมุนไพรเบื้องต้น

วันที่ 29 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษาโรค แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้เหมาะสมกับพื้นที่  โดยแบ่งเป็น 2 ครั้ง  คือ -ครั้งที่ 1 จัดอบรมให้แก่ประชาชนในพื้นที่  หมู่ที่ 1, 2 และ 7 -ครั้งที่ 2 จัดอบรมให้แก่ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 3, 4, 5 และ 6 2.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการทำสมุนไพร การทำน้ำมันนวดแก้ปวดเมื่อย 3.ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน สำหรับใช้ในการรักษาโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จัดอบรมรุ่นที่ 1  ได้จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษาโรค เมื่อวันที่ 29 กรกฏาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน เป็นประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 1, 2 และ 7 โดยมีวิทยากรที่มีความรู้เกี่ยวกับทางด้านสมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษาโรค ในช่วงเช้าเป็นการให้ความรู้เรื่องยาสมุนไพรในการรักษาโรคเบื้องต้น ช่วงบ่ายเป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการโดยฝึกทำลูกประคบและน้ำมันนวดในการรักษาโรคให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 2.จัดอบรมรุ่นที่ 2 ได้จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษาโรค เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2566  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน เป็นประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 3, 4, 5 และ 6 โดยมีวิทยากรที่มีความรู้เกี่ยวกับทางด้านสมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษาโรค ในช่วงเช้าเป็นการให้ความรู้เรื่องยาสมุนไพรในการรักษาโรคเบื้องต้น ช่วงบ่ายเป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการโดยฝึกทำลูกประคบและน้ำมันนวดในการรักษาโรคให้แก่กลุ่มเป้าหมาย สามารถดำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้  คือ 1.ผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำความรู้เกี่ยวกับยาสมุนไพรพื้นบ้านไปรักษาปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ในชีวิตประจำวัน 2.ผู้เข้าร่วมสามารถทำน้ำมันนวดสมุนไพรเพื่อไปใช้ในการรักษาโรค

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมได้มีความรู้เรื่องยาสมุนไพร ในการรักษาโรคเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบานไปรักษาปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ในชีวิตประจำวัน

 

2 ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้พึ่งพาตนเองในการรักษาโรค ดูแลสุขภาพ โดยการใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถทำน้ำมันนวดสมุนไพรเพื่อไปใช้ในการรักษาโรค เบื้องต้น

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมได้มีความรู้เรื่องยาสมุนไพร ในการรักษาโรคเบื้องต้น (2) ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้พึ่งพาตนเองในการรักษาโรค ดูแลสุขภาพ โดยการใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพเบื้องต้น โดยสมุนไพรเบื้องต้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมทำสมุนไพร ที่ใช้เป็นยารักษาโรค (ทำลูกประคบ,น้ำมันนวด) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5273-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาญชัย ศรีคงคา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด