กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการ จ.ศ.ร่วมใจขับไล่ยุงลาย ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอานนท์ ปัญจเมธีกุล

ชื่อโครงการ โครงการ จ.ศ.ร่วมใจขับไล่ยุงลาย

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5273-2-7 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ จ.ศ.ร่วมใจขับไล่ยุงลาย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ จ.ศ.ร่วมใจขับไล่ยุงลาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ จ.ศ.ร่วมใจขับไล่ยุงลาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5273-2-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,330.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหา ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น มีการระบาดในทุกจังหวัดทั่วประเทศไทยทั้งในเขตเมืองและชนบท ทั้งนี้เนื่องจากสภาพแวดล้อม เอื้ออำนวยต่อการแพร่กระจายตัวของยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำเชื้อไข้เลือดออก การควบคุมการระบาดเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยลงนั้น อยู่ที่การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และลดจำนวนประชากรยุงที่มีการติดเชื้อกลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเด็กวัยเรียน และการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝนสำหรับสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในจังหวัดสงขลา เนื่องจากมีปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรค คือ ลักษณะของชุมชนชนบท มีป่าไม้ และน้ำขังตามใบหญ้า การจัดเก็บและการดูแลสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม ทำให้เกิดเป็นแหล่งเพาะลูกน้ำยุงลายในชุมชน จากสถานการณ์ดังกล่าวอาจจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน นักเรียนโรงเรียนเจริญศึกษาเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการ จ.ศ. รวมใจขับไล่ยุงลาย โดยมีการกระตุ้นให้ประชาชนนักเรียน มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดการระบาดโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจกับนักเรียน ชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์
  2. ข้อ 2.เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน
  3. ข้อ 3.เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออก
  2. กิจกรรมสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
  3. กิจกรรมอบรมทำสเปรย์ไล่ยุง
  4. กิจกรรมรณรงค์โรคไข้เลือดออกและการกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  5. สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
  6. ทำสเปรย์ไล่ยุง
  7. รณรงค์โรคไข้เลือดออกและการกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  8. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชนมีความรู้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.สามารถลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน 3.ลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์โรคไข้เลือดออกและการกำจัดลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมรณรงค์โรคไข้เลือดออกและการกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดยจะมีการรณรงค์ในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,7 และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้มีการเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่  และมีการสำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ชุมชนที่ใกล้กับโรงเรียน  เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกออกที่มียุงลายเป็นพาหะ  ที่อาจนำโรคมาสู่นักเรียนในโรงเรียน

 

53 0

2. อบรมให้ความรู้

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก  แก่นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และประถมศึกษาปีที่ 6

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออก  นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 53 คน ได้รับความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและการป้องกันโรคไข้เลือดออก  โดยผู้เข้าร่วมอบรมได้ทำแบบทดสอบก่อนอบรมและหลังอบรม  จำนวน 10 ข้อ  คะแนนเต็ม 10 คะแนน เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

53 0

3. สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.แต่งตั้งสารวัตรยุงลาย 20 คน 2.นักเรียนสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทุกวันศุกร์ 3.กำจัดลูกน้ำยุงลายและแจกอุปกรณ์เพื่อทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการจัดกิจกรรมสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในโรงเรียน 1.จัดทำหนังสือแต่งตั้งสารวัตรยุงลาย 20 คน 2.ได้มีการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทุกวันศุกร์ โดยมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ก่อนและหลังจากมีการเข้าร่วมโครงการโดยสารวัตรยุงลายเป็นผู้สำรวจใจบริเวณโรงเรียน

 

0 0

4. ทำสเปรย์ไล่ยุง

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการฝึกทำสเปรย์ไล่ยุง  และสาธิตการทำสเปรย์ไล่ยุง ใช้สเปรย์ไล่ยุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมทำสเปรย์ไล่ยุงได้รับความรู้ความเข้าใจในการผสมส่วนต่าง ๆ ของการทำสเปรย์ไล่ยุงเป็นการแปรรูปสมุนไพรที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่นนำมาใช้ประโยชน์ในการไล่ยุงป้องกันยุง ผู้เข้าร่วมอบรมได้ใช้สเปรย์ไล่ยุงที่ปลอดสารพิษและยังสามารถทำได้เองในครัวเรือนเพื่อลดรายจ่ายในครอบครัวอีกด้วย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจกับนักเรียน ชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และชุมชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก

 

2 ข้อ 2.เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : นักเรียนในโรงเรียน ชุมชนป่วยโรคไข้เลือดออกน้อยลง

 

3 ข้อ 3.เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
ตัวชี้วัด : ความร่วมมือของนักเรียน ชุมชนในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและุชุมชนไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 63
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจกับนักเรียน ชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) ข้อ 2.เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน (3) ข้อ 3.เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย (3) กิจกรรมอบรมทำสเปรย์ไล่ยุง (4) กิจกรรมรณรงค์โรคไข้เลือดออกและการกำจัดลูกน้ำยุงลาย (5) สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย (6) ทำสเปรย์ไล่ยุง (7) รณรงค์โรคไข้เลือดออกและการกำจัดลูกน้ำยุงลาย (8) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ จ.ศ.ร่วมใจขับไล่ยุงลาย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5273-2-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอานนท์ ปัญจเมธีกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด