กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs) ปี 2561 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs) ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 ตุลาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs) ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs) ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs) ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L6895-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 ตุลาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงหัวใจหลอดเลือดสมอง มะเร็ง ฯลฯเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือดม (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่านอกจากการบริการทางคลินิกแล้ว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อดังกล่าวซึ่งการบริการสุขภาพภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลให้ประชาชนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานที่จำเป็น รวมทั้งการบริการสุขภาพเพื่อป้องกันและควบคุมโรคเป็นสำคัญ โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ถือเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้เช่น ความอ้วน ความเครียด การออกกำลังกาย พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ซึ่งหากประชาชนไม่สามารถควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่อายุ 35 ปีขึ้นไปย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และต้องได้รับการรักษารับประทานยาตลอดชีวิต อีกทั้งหากมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ส่งผลให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น ข้อมูลจากการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในกลุ่มวัยทำงาน (ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ.ตรัง ปี 2560) พบว่า เสี่ยงต่อโรคเบาหวานจำนวน 339 คน เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง1,610 คนป่วยโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 9.26 ป่วยโรคเบาหวานร้อยละ6.72ดัชนีมวลกายเกินมาตรฐาน (≥ 23 กก./ตร.ม.) จำนวน335 คนรอบเอวเกินมาตรฐาน (ชายไม่เกิน 90 ซม. / หญิงไม่เกิน 80 ซม.) ร้อยละ 29.39เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดจำนวน 4,021คน ทางศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มวัยทำงานจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม กระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายวัยทำงาน ตระหนัก รับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น เป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรังมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ
  2. จัดเตรียมเอกสาร/ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรังเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วย 3 อ  2 ส , โรคหลอดเลือดหัวใจ/สมอง พร้อมตรวจประเมินสุขภาพเบื้องต้น/ประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจหลอดเลือด

- ลงทะเบียน/ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนการอบรม - พิธีเปิด - บรรยายให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรค จำนวน 60 คน เมื่อวันที่  22
กุมภาพันธ์  2561  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  ในเรื่องความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน    โรคความดันโลหิตสูง  โรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต)  โรคหัวใจ    โรคไตวาย เป็นต้น  การเสริมสร้างแรงจูงใจ....ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พร้อมเข้าฐานเรียนรู้  2 ส. (บุหรี่และสุรา) โทษ  และเทคนิคการอดบุหรี่  ฐานปรับเปลี่ยน.....โภชนาการ  เพื่อสุขภาพ...ลดโรค  ฐานปรับเปลี่ยน....การออกกำลังกาย  เพื่อสุขภาพ…ลดโรคโดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
2. การประเมินผล 2.1 ประเมินความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามแบบสอบถามความรู้เรื่องอาหาร ออกกำลังกายและอารมณ์ (3 อ.)
- ก่อนการอบรม  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน  จำนวน  51  ชุด  พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่  8  คะแนน  จำนวน  6  คน  รองลงมาคือ  7  คะแนน  จำนวน  8  คน 6  คะแนน จำนวน 19 คน 5 คะแนน จำนวน 12  4 คะแนน จำนวน 6  จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน  6 คะแนนมากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ 37.25  รองลงมาคือ  5  คะแนน  คิดเป็นร้อยละ 23.53  7  คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  15.69  และ8 กับ 4 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ11.76 ตามลำดับดังตาราง - หลังการอบรม  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน  จำนวน 48  ชุด  พบว่าผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่  10  คะแนน  จำนวน  4  คน  รองลงมาคือ 9  คะแนน จำนวน 15  คน 8  คะแนน  จำนวน  16  คน  และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่  7  คะแนน  จำนวน  13  คน 2.2 ประเมินทัศนคติ ผู้เข้ารับการอบรมส่งแบบประเมินคืน  จำนวน  51  ชุด   

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีคะแนนความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 70 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีคะแนนทัศนคติในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 70

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรังมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรังมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs) ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด