กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิกรานต์ ราชแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-ศ7252-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-ศ7252-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทย ประกอบด้วยกลุ่มคนที่มีวิถีการดำเนินชีวิตที่มีความแตกต่างกัน เช่น กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ฯลฯ โดยเฉพาะกลุ่มคนพิการ จะมีความต่างกันทั้งความพิการแต่กำเนิดและความพิการที่เกิดขึ้นภายหลัง ทั้งสาเหตุจากพันธุกรรม อุบัติเหตุและการเจ็บป่วย เป็นต้น ความพิการที่เกิดขึ้นนอกจากจะส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจของคนพิการแล้วยังส่งผลไปถึงครอบครัวและคนรอบข้างอีกด้วย ปัจจุบันจึงมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเข้ามาดูแลส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ให้เกิดการรับรู้ถึงสิทธิประโยชน์สิทธิขั้นพื้นฐานที่พึงได้รับ เกิดการพัฒนาทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และเกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันของสมาชิกในครอบครัว ชุมชน ช่วยเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่คนพิการรวมทั้งให้คนพิการได้เห็นคุณค่าของตนเอง ดึงเอาศักยภาพที่ตนเองมีอยู่มาพัฒนาเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพ
เทศบาลเมืองสะเดา เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีความหลากหลายทางด้านโครงสร้างทางสังคมและลักษณะของประชากร จากการสำรวจพบว่า มีคนพิการในพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาทั้งสิ้นประมาณ 485 ราย ซึ่งกระจายอยู่ทุกช่วงอายุ บางรายสามารถช่วยเหลือตนเองได้ แต่บางรายไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ อีกทั้งไม่มีผู้ดูแล ส่งผลให้เกิดความยากลำบากในการดำเนินชีวิตประจำวัน กลุ่มคนพิการเหล่านี้จึงเป็นกลุ่มคนทางสังคมที่ควรให้การช่วยเหลือและควรได้รับการ    พัฒนาศักยภาพ ซึ่งจะส่งผลดีต่อการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป เทศบาลเมืองสะเดา ในฐานะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ.2552 มาตรา 50 ข้อ 7 ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ประกอบกับเทศบาลเมืองสะเดามีนโยบายดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ในด้าน    การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ในประเด็นการลดความเหลื่อมล้ำสร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ และประเด็น การเสริมสร้างพลังทางสังคม ในหัวข้อสร้างสังคมเข้มแข็งที่แบ่งปัน ไม่ทอดทิ้งกัน และมีคุณธรรม โดย“ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” เทศบาลเมืองสะเดาจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหา และนโยบายดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการเพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการให้ดีขึ้นในทุกๆ ด้านทั้งด้าน สุขภาพกาย สุขภาพจิต รวมทั้งการเพิ่มพูนทักษะในด้านอาชีพ โดยใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทำให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามศักยภาพของตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการให้มีการพัฒนาทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม
  2. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการได้รับความรู้และเข้าถึงการดูแล สิทธิที่พึงได้รับจากหน่วยงานภาครัฐ
  3. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ทักษะ และแนวทางในการดูแลคนพิการที่ถูกต้องเหมาะสม ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ และถูกสุขภาวะ
  4. เพื่อส่งเสริม เพิ่มพูนทักษะในด้านอาชีพให้กับคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ โดยใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ทำให้เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และยังเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองเกิดความรู้สึกตนเองมีคุณค่า มีประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. คนพิการและผู้ดูแลคนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพิ่มขึ้นจากเดิมทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม ๒. คนพิการและผู้ดูแลคนพิการได้รับความรู้และได้รับการดูแล สิทธิที่พึงได้รับจากหน่วยงานภาครัฐ 3. คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ทักษะ และแนวทางในการดูแลคนพิการอย่างถูกต้องเหมาะสม ตามสุขลักษณะ และถูกสุขภาวะ 4. คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีทักษะในด้านอาชีพ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และมีรายได้เสริมทำให้เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการให้มีการพัฒนาทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการได้รับความรู้และเข้าถึงการดูแล สิทธิที่พึงได้รับจากหน่วยงานภาครัฐ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ทักษะ และแนวทางในการดูแลคนพิการที่ถูกต้องเหมาะสม ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ และถูกสุขภาวะ
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อส่งเสริม เพิ่มพูนทักษะในด้านอาชีพให้กับคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ โดยใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ทำให้เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และยังเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองเกิดความรู้สึกตนเองมีคุณค่า มีประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการให้มีการพัฒนาทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม (2) เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการได้รับความรู้และเข้าถึงการดูแล สิทธิที่พึงได้รับจากหน่วยงานภาครัฐ (3) เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ทักษะ และแนวทางในการดูแลคนพิการที่ถูกต้องเหมาะสม ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ และถูกสุขภาวะ (4) เพื่อส่งเสริม เพิ่มพูนทักษะในด้านอาชีพให้กับคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ โดยใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ทำให้เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และยังเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองเกิดความรู้สึกตนเองมีคุณค่า มีประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-ศ7252-01-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิกรานต์ ราชแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด