กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
4000.00 3500.00

 

2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
30.00 70.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะ
65.00 90.00

 

4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูล ฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ลดปริมาณขยะลงได้ เพราะเมื่อแยกวัสดุส่วนที่ยังมีประโยชน์ออกไป เช่น แก้ว กระดาษ โลหะ พลาสติก ฯลฯ ก็จะเหลือปริมาณขยะจริงที่จำเป็นต้องกำจัดหรือทำลายน้อยลง
4000.00 3000.00

 

5 เพื่อรณรงค์ และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น สอดคล้องหลักการของเมืองท่องเที่ยวน่าอยู่อย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ดำเนินการขยายผลหลังคาเรือนและโรงเรียนในพื้นที่ครอบคลุมร้อยละ 100
90.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงานขยะ 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะ (4) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูล  ฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม (5) เพื่อรณรงค์ และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น สอดคล้องหลักการของเมืองท่องเที่ยวน่าอยู่อย่างยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง/กำกับติดตาม/ประเมินผล แก่คณะกรรมการขยะมูลฝอยระดับตำบล/หมู่บ้าน จำนวน 3 ครั้ง (2) สนับสนุนการดำเนินงานการคัดแยกขยะประจำหมู่บ้านต่อเนื่อง มีรายละเอียดดังนี้      3.1 สนับสนุนการบริหารจัดการธนาคารขยะต่อเนื่อง ทั้ง 3 ฝ่าย คือ 1.ฝายบัญชีและการเงิน 2.ฝายขาย และ3.ฝายบริหารงานทั่วไป      3.2 สนับสนุนการคัดแยกขยะประจำหมู่บ้านทั้ง 3 หมู่บ้าน แ (3) พัฒนาศักยภาพโดยการเพิ่มทักษะเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือนโดยการใช้ถุงขยะ แก่กลุ่มครัวเรือนเป้าหมายที่นำร่อง(หมู่ที่ 2) จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน รวม 150 คน 2.1 จัดฝึกอบรมตัวแทนครัวเรือนๆละ 1 คน เพื่อสร้างความเข้าใจ/ทักษะการคัดแยกขยะในครัวเรือนและชุมชน (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ แก่คณะทำงานและตัวแทนกลุ่มเป้าหมายครัวเรือน เพื่อทบทวน ปรับแก้ไขปัญหาในระหว่างการดำเนินกิจกรรมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh