กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ร้านชำปลอดยาอันตราย ปี 2566
รหัสโครงการ 2566/L1465/1/3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกยาง
วันที่อนุมัติ 5 เมษายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 24 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 13,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวิจิตร เรืองแสนสกุล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกยาง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.509,99.48place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 24 เม.ย. 2566 30 ก.ย. 2566 13,050.00
รวมงบประมาณ 13,050.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้

ร้อยละ 100 ของร้านขายของชำจำหน่ายอาหารและเครื่องสำอางที่ถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐาน

100.00
2 เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยา แต่ละชนิดและสามารถเลือกจำหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้

ร้อยละ 100 ของร้านขายของชำจำหน่ายยาเฉพาะยาสามัญประจำบ้าน

100.00
3 เพื่อให้มีเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ สามารถให้ความรู้และคำแนะนำในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชนและผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยได้

ทุกหมู่บ้านมีเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคอย่างน้อย 3 คน
- ร้อยละ 100 เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเกณฑ์มาตรฐานสถานประกอบการที่ถูกต้อง

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ประกอบการสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร เครื่องสำอาง ที่มีคุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้
  2. ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดและสามารถเลือกจำหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้
  3. เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภค สามารถให้ความรู้และคำแนะนำในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชนและผู้ประกอบการได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2566 11:20 น.