กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่


“ โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2566 ”

ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายเปาซี หะมะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4141-02-01 เลขที่ข้อตกลง 007/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4141-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,045.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าระบบรายงานผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากการจมน้ำ Drowning Report กองป้องกันการบาดเจ็บ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 14 กันยายน 2565 มีรายงานเหตุการณ์การจมน้ำ จำนวน 184 เหตุการณ์ โดยผู้เสียชีวิตทั้งหมด 174 ราย พบมากในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แหล่งน้ำที่เกิดเหตุการณ์ เช่น คลอง แม่น้ำ แหล่งน้ำที่ใช้ในเกษตรกรรม ทะเล สระว่ายน้ำ ตามลำดับ ส่วนปัจจัยที่ทำให้เสียชีวิตจากการจมน้ำ ได้แก่ ว่ายน้ำไม่เป็น ไม่มีทักษะการเอาชีวิตรอด ลงเล่นน้ำโดยไม่แจ้งผู้ปกครองดูแลใกล้ชิดตลอดเวลา ไม่มีป้ายเตือน ไม่มีสิ่งกีดขวาง โดยเฉพาะช่วงปิดเทอมผู้ปกครองส่วนใหญ่จะให้พี่ดูแลน้องหรือผู้สูงอายุดูแลเด็ก และมักจะพบว่าในช่วงปิดภาคเรียน (มีนาคม-พฤษภาคม) ของทุกปี เป็นช่วงที่มีสถิติเด็กจมน้ำมากที่สุด

สำหรับพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ถึงแม้จะไม่มีการเกิดเหตุเด็กจมน้ำเสียชีวิตในปีที่ผ่านมา แต่จากสภาพของพื้นที่ในแต่ละชุมชนซึ่งมีแหล่งน้ำที่อาจจะทำให้เกิดเหตุได้นั้น ดังนั้นเพื่อให้เด็กในพื้นที่มีทักษะในการว่ายน้ำ การเอาตัวรอดในขณะกำลังจมน้ำ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำอย่างถูกต้องและปลอดภัย สำนักปลัด อบต.ลำใหม่ เสนอโครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2566 เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ เพื่อดำเนินการจัดทำโครงการดังกล่าว ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ
  2. เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการว่ายน้ำ และทักษะในการเอาตัวรอดในน้ำ
  3. เพื่อให้ทีมผู้ก่อการดีเป็นเครือข่ายในการป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมบรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดปัญหาเด็กกลุ่มเสี่ยง (อายุต่ำกว่า 15 ปี) เสียชีวิตจากการจมน้ำ

2.เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการว่ายน้ำและทักษะในการเอาชีวิตรอดในน้ำ

3.ทีมผู้ก่อการดีเป็นเครือข่ายในการป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมบรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติ

วันที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ในภาคทฤษฎีเกี่ยวกับ การปฐมพยาบาลคนจมน้ำเบื้องต้น (กรณีมีชีพจร,กรณีไม่มีชีพจร) ช่องทางการแจ้งเหตุ

-กิจกรรมแบ่งกลุ่มฝึกภาคปฏิบัติ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำโดยการตะโกน โยน ยื่น ฝึกทักษะการลอยตัว (โดยมีอุปกรณ์และไม่มีอุปกรณ์) การให้ช่วยเหลือที่ถูกต้อง

-สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยง ติดตั้งป้าย ห้ามเล่นน้ำ ตามแหล่งน้ำที่เสี่ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับการอบรม มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลคนจมน้ำในเบื้องต้น มีความรู้ความเข้าใจในการแจ้งเหตุเพื่อช่วยเหลือ รู้จักวิธีการเอาตัวรอดและการช่วยเหลือคนจมน้ำเพื่อให้ปลอดภัยทั้งคนช่วยเหลือ และผู้ประสบภัย

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เสียชีวิตจากการจมน้ำ

 

2 เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการว่ายน้ำ และทักษะในการเอาตัวรอดในน้ำ
ตัวชี้วัด : เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการว่ายน้ำ และทักษะในการเอาตัวรอดในน้ำ ร้อยละ 90

 

3 เพื่อให้ทีมผู้ก่อการดีเป็นเครือข่ายในการป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของทีมผู้ก่อการดีเป็นเครือข่ายในการป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 20
กลุ่มวัยทำงาน 10 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ (2) เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการว่ายน้ำ และทักษะในการเอาตัวรอดในน้ำ (3) เพื่อให้ทีมผู้ก่อการดีเป็นเครือข่ายในการป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมบรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4141-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเปาซี หะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด