เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร
หมู่ที่ ๘ จำนวน ๙๕ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๕ คน เสี่ยง ๓๔ คน ปลอดภัย ๔๑ คน ปกติ ๑๕ คน หมู่ที่ ๙ จำนวน ๑๐๐ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๑๐ คน เสี่ยง ๓๑ คน ปลอดภัย ๓๙ คน ปกติ ๒๐ คน
หมู่ที่ ๗ จำนวน ๑๑๒ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๖ คน เสี่ยง ๓๙ คน ปลอดภัย ๕๓ คน ปกติ ๑๖ คน
หมู่ที่ ๖ จำนวน ๙๑ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๓ คน เสี่ยง ๒๕ คน ปลอดภัย ๕๓ คน ปกติ ๑๐ คน
หมู่ที่ ๕ จำนวน ๒๔๗ คน ไม่ปลอดภัย ๓๗ คน เสี่ยง ๗๕ คน ปลอดภัย ๙๔ คน ปกติ ๔๑ คน
ประกอบด้วย
หมู่ที่ ๔ จำนวน ๒๔๗ คน ไม่ปลอดภัย ๑๔ คน เสี่ยง ๒๙ คน ปลอดภัย ๑๙ คน ปกติ ๔ คน
ประกอบด้วย
หมู่ที่ ๒ จำนวน ๑๑๕ คน ไม่ปลอดภัย ๓๓ คน เสี่ยง ๔๕ คน ปลอดภัย ๓๖ คน ปกติ ๑ คน
ประกอบด้วย
๑. จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบเพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการตรวจ โดยทีม อสม.
๒. เตรียม เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโดยการตรวจเลือด โดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส
๓. ประสานกับหมู่บ้านในพื้นที่ เพื่อเตรียมการและวางแผนการดำเนินงานตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง
๔. ดำเนินการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกร ตามวัน และเวลาที่นัดหมาย
๕. แจ้งผลการตรวจพร้อมคำแนะนำที่ถูกต้องของการดูแลสุขภาพ
หมู่ที่ ๑ จำนวน ๑๐๐ คน ไม่ปลอดภัย ๔๔ คน เสี่ยง ๔๓ คน ปลอดภัย ๑๓ คน ปกติ ๐ คน และ หมู่ที่ ๓ จำนวน ๖๖ คน ไม่ปลอดภัย ๑๔ คน เสี่ยง ๒๙ คน ปลอดภัย ๑๙ คน ปกติ ๔ คน
ประกอบด้วย
ประชาชนหมู่ที่ ๑ และ ๓ ที่มีอายุ มากกว่า ๓๕ ปี และเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ประกอบอาชีพด้านการเกษตร