กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในตำบลปะเสยะวอ ”

ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอาหะมะ บูละ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในตำบลปะเสยะวอ

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3057-1-07 เลขที่ข้อตกลง 3/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในตำบลปะเสยะวอ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในตำบลปะเสยะวอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในตำบลปะเสยะวอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3057-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทยนับเป็นภูมิปัญญาไทยที่มีองค์ความรู้ความสามารถ อันเกิดจากการรวบรวมความรู้ในด้านต่างๆที่ผ่านกระบวนการสืบทอด พัฒนาปรับปรุง และเลือกสรรมาแล้วเป็นอย่างดีที่สามารถนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การบำบัดรักษา และฟื้นฟูสุขภาพที่ครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสิ่งแวดล้อมแบบองค์รวม โดยใช้หลักธรรมมานามัย 3 ประการ คือ กายานามัย จิตานามัย และชีวิตานามัย การส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักกายานามัย เป็นการปรับสมดุลของธาตุเจ้าเรือนดิน น้ำ ลม ไฟ ในร่างกาย โดยการรับประทานอาหารสมุนไพร การนวดไทย การอบสมุนไพร การประคบสมุนไพร และกายบริหารแบบไทย ส่วนจิตตานามัย เป็นการทำ สมาธิ สงบจิต และภาวนาเป็นการรักษาสุขภาพทางใจ และชีวิตานามัยเป็นการดำเนินชีวิตสายกลาง มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีอาชีพที่เหมาะสมศาสตร์การแพทย์แผนไทยจึงมีประโยชน์ต่อการนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพคนไทยโดยรวม ตำบลปะเสยะวอเป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์เต็มไปด้วยความหลากหลายทางพหุวัฒนธรรม        แต่พบว่าชาวบ้านส่วนใหญ่ยังขาดการนำความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆอย่างแพร่หลายไม่มากนัก เนื่องจากชาวบ้านยังขาดความรู้ความเข้าใจในการสร้างเสริม ดูแลรักษาสุขภาพและการนำความรู้มาแปรรูปให้เกิดประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งอาจส่งผลให้ความรู้เรื่องศาสตร์การแพทย์แผนไทยค่อยๆจางหายไปในที่สุด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปะเสยะวอ ได้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพตัวเอง ซึ่งเป็นการดูแลตั้งแต่ต้นเหตุ ได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต จึงนำศาสตร์การแพทย์แผนไทย          มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยจัดเป็นให้มีกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งมีกิจกรรม คือให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย และการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรรอบตัว ท่าบริหารกล้ามเนื้อด้วยท่าฤาษีดัดตน
ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปะเสยะวอ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในตำบลปะเสยะวอ เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพให้เกิดความยั่งยืนทั้งในระดับบุคคลครอบครัว ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ ปัญญา สังคมและสิ่งแวดล้อม และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน นำไปเผยแพร่ และช่วยเหลือผู้อื่นได้อย่างบูรณาการ สามารถสร้างเสริมสุขภาพให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นตลอดจนเป็นการอนุรักษ์ และตระหนักถึงคุณค่าในศาสตร์แพทย์แผนไทยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายและนำมาประยุกต์ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดในการเจ็บป่วยเล็กๆน้อย
  2. เพื่อจัดบริการนวดโดยใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในชุมชนมากยิ่งขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นดำเนินการ
  2. ตรวจคัดกรอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดในการเจ็บป่วยเล็กน้อยได้
  2. ประชาชนได้รับบริการนวดโดยใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในชุมชนมากยิ่งขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายและนำมาประยุกต์ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดในการเจ็บป่วยเล็กๆน้อย
ตัวชี้วัด : ผู้เช้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ สามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดได้
80.00

 

2 เพื่อจัดบริการนวดโดยใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในชุมชนมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับบริการนวดการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยร้อยละ ๘๐
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายและนำมาประยุกต์ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดในการเจ็บป่วยเล็กๆน้อย (2) เพื่อจัดบริการนวดโดยใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในชุมชนมากยิ่งขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นดำเนินการ (2) ตรวจคัดกรอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในตำบลปะเสยะวอ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3057-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาหะมะ บูละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด