กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมสร้าง สุขาบิภาลอาหารสะอาดปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตำบลสนาชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566
รหัสโครงการ 66-L5244-01-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสนามชัย
วันที่อนุมัติ 5 เมษายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 8,080.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพรกนก ช่างเหล็ก
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.547,100.417place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัย 4 ที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่งการบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน5 หมู่ ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและยังช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันอีกด้วย ในทางกลับกัน การบริโภคอาหารที่ไม่สด สะอาด มีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ นอกจากนี้ยังต้องคำนึงถึงปริมาณการบริโภคอาหารด้วย ถ้าหากบริโภคมากเกินไปจะทำให้เป็นโรคภาวะโภชนาการเกิน บริโภคน้อยเกินไปจะทำให้เป็นโรคขาดสารอาหารการบริโภคอาหารประเภทแป้ง น้ำตาล และไขมันมากเกินไป ก็จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด การบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน และประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็นประจำ ก็เป็นสาเหตุ ให้เกิดโรคมะเร็ง เป็นต้นอาหารจะสะอาด หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้คือ อาหารหรือวัตถุดิบที่นำมาปรุงสถานที่ผลิตและประกอบการด้านอาหาร เช่น ร้านอาหาร แผงลอยตลาด แผงขายอาหารสด และโรงครัวและร้านขายของชำ คนจำหน่ายคนปรุง และคนเสิร์ฟอาหาร ตลอดจนคนทำความสะอาดภาชนะนอกจากนี้ก็ยังมีสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แหล่งน้ำเสีย และแหล่งทิ้งขยะมูลฝอยเป็นต้น การที่จำให้อาหารสะอาด ปลอดภัยได้คุณค่าทางโภชนาการนั้นรัฐบาลจึงได้มุ่งเน้นงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเป็นสำคัญมาตั้งแต่ปี 2558 โดยกำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านความเข้มแข็งในการกำกับดูแล ให้อาหารปลอดภัยและคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารมีกิจกรรมการดูแลสถานประกอบการอาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ นอกจากนี้รัฐบาลยังได้จัดทำโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste)และการดำเนินงานตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 6ชนิดและสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ รวมทั้ง อะฟลาทอกซิน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญที่จะทำให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยตลอดจนการรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักสุขาภิบาลและได้คุณค่าทางโภชนาการ ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เป็นเป้าหมายศูนย์กลางอาหารและการท่องเที่ยวอำเภอสทิงพระ และมีเป้าหมายผู้ประกอบการร้านค้า ร้านแผงลอย ทั้งนี้เพื่อให้การอุปโภคบริโภคซึ่งส่งผลต่อการกระจายของโรค หากไม่มีมาตรการป้องกันโรคจากต้นทาง ซึ่งในการดำเนินงานดังกล่าว เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีกิจกรรมรณรงค์ ให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย กลุ่มแม่บ้านประจำครัวเรือน นักเรียนกลุ่ม อย.น้อยในโรงเรียน ครู ผู้ปรุงอาหารในโรงเรียน แกนนำอสม.และประชาชนทั่วไป ผ่านสื่อทุกรูปแบบ ซึ่งเป็นการสร้างกระแสด้านอาหารปลอดภัยในพื้นที่ เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด ตลาดร้านอาหารฯให้กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารทุกพื้นที่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมปฏิบัติตนอย่างถูกต้องต่อไปจากผลการตรวจร้านอาหาร/แผงลอย แผงจำหน่ายน้ำและน้ำแข็ง ร้านขายของชำ ร้านขายเครื่องสำอาง และสถานที่ผลิตอาหาร ของตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2565 ผลปรากฏว่า ตรวจร้านขายของชำ 18 ร้าน พบมีการจำหน่ายยาชุดและยาอันตราย 2 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 11.11 และยังพบมีการจำหน่ายเครื่องสำอางที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศห้ามขาย ตรวจความปลอดภัยด้านอาหารร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสุกด้วย SI2 จำนวน 8 ร้าน พบปลอดภัยไม่มีสิ่งปนเปื้อนคิดเป็นร้อยละ 12.50 ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสนามชัยจึงจัดทำโครงการ“ร่วมสร้าง สุขาภิบาล อาหารสะอาด ปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตำบลสนามชัย”อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลาปี 2566 ขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานอาหารปลอดภัยสำเร็จ ลุล่วงตามวัตถุประสงค์และส่งผลให้ตำบลสนามชัยเป็นศูนย์กลางด้านอาหารและการท่องเที่ยวอำเภอสทิงพระ ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้สถานประกอบการร้านอาหาร พัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐาน GFGT

สถานประกอบการร้านอาหาร พัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐาน GFGT ร้อยละ 95

2 เพื่อให้ร้านชำ จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ/เครื่องสำอาง /ยาสามัญประจำบ้านที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน

ร้านชำ จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ/ เครื่องสำอาง /ยาสามัญประจำบ้านที่ปลอดภัย ร้อยละ 80

3 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชนสามารถตรวจร้านชำ/ร้านอาหาร/แผงลอย พร้อมเจ้าหน้าที่ได้อย่างครอบคลุมและถูกต้อง

ภาคีเครือข่าย สามารถตรวจร้านชำ/ร้านอาหาร/แผงลอย พร้อมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ ร้อยละ 80

4 เพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม กับ รถ Mobileของจังหวัด

นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมกับ รถ Mobileของจังหวัด ร้อยละ ๑๐๐

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 ประชุมเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการอาหารปลอดภัย(21 เม.ย. 2566-21 เม.ย. 2566) 0.00            
2 เก็บตัวอย่างอาหารตรวจสารปนเปื้อน จำนวน 2 แผง(21 เม.ย. 2566-21 เม.ย. 2566) 0.00            
3 เก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำส่งตรวจสารโพลาร์ จำนวน 2 แผง(21 เม.ย. 2566-21 เม.ย. 2566) 0.00            
4 ตรวจแนะนำด้านสุขาภิบาลอาหาร ร้านอาหาร/แผงลอย จำหนายอาหาร จำนวน 10 แผง(21 เม.ย. 2566-21 เม.ย. 2566) 3,900.00            
5 ตรวจแนะนำร้านชำที่จำหน่ายยา จำนวน 18 ร้าน(21 เม.ย. 2566-21 เม.ย. 2566) 1,700.00            
6 ตรวจแนะนำร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง จำนวน 18 ร้าน(21 เม.ย. 2566-21 เม.ย. 2566) 700.00            
7 ตรวจแนะนำโรงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน จำนวน 5 แห่ง(21 เม.ย. 2566-21 เม.ย. 2566) 1,180.00            
8 กิจกรรมสร้างกระแสสังคมและประชาสัมพันธ์ โครงการร่วมสร้าง สุขาภิบาลอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566(21 เม.ย. 2566-21 เม.ย. 2566) 600.00            
รวม 8,080.00
1 ประชุมเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการอาหารปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 เก็บตัวอย่างอาหารตรวจสารปนเปื้อน จำนวน 2 แผง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
3 เก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำส่งตรวจสารโพลาร์ จำนวน 2 แผง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
4 ตรวจแนะนำด้านสุขาภิบาลอาหาร ร้านอาหาร/แผงลอย จำหนายอาหาร จำนวน 10 แผง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 3,900.00 0 0.00
21 เม.ย. 66 ตรวจแนะนำด้านสุขาภิบาลอาหาร ร้านอาหาร/แผงลอย จำหน่ายอาหาร จำนวน 10 แผง 0 3,900.00 -
5 ตรวจแนะนำร้านชำที่จำหน่ายยา จำนวน 18 ร้าน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 1,700.00 0 0.00
21 เม.ย. 66 ตรวจแนะนำร้านชำที่จำหนายยา จำนวน 18 ร้าน 0 1,700.00 -
6 ตรวจแนะนำร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง จำนวน 18 ร้าน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 700.00 0 0.00
21 เม.ย. 66 ตรวจแนะนำร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง จำนวน 18 ร้าน 0 700.00 -
7 ตรวจแนะนำโรงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน จำนวน 5 แห่ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 1,180.00 0 0.00
21 เม.ย. 66 ตรวจแนะนำโรงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน จำนวน 5 แห่ง 0 1,180.00 -
8 กิจกรรมสร้างกระแสสังคมและประชาสัมพันธ์ โครงการร่วมสร้าง สุขาภิบาลอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 600.00 0 0.00
21 เม.ย. 66 กิจกรรมสร้างกระแสสังคมและประชาสัมพันธ์ โครงการร่วมสร้าง สุขาภิบาลอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 0 600.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. สถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย ร้านชำ โรงอาหารในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ส่งผลให้ประชาชนได้รับประโยชน์และความปลอดภัยในการเลือกซื้อและบริโภค ๒. นักเรียน อย.น้อย มีความรู้เรื่องการเลือกซื้ออาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพจนสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัวและชุมชนได้ ๓. ภาคีเครือข่ายด้านสุขาภิบาลอาหาร ปฏิบัติงานพร้อมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 เม.ย. 2566 15:38 น.