กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 2566-L8404-2-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นายรมย์ จันมุณี และ นายทิวากร เรือนแก้ว และ น.ส. กรณัฏฐ์ ทองนิมิตร
วันที่อนุมัติ 29 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 28 มีนาคม 2566
งบประมาณ 8,432.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายรมย์ จันมุณี
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ นายรมย์ จันมุณี และ นายทิวากร เรือนแก้ว และ น.ส. กรณัฏฐ์ ทองนิมิตร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 8,432.00
รวมงบประมาณ 8,432.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสังคมและปัจจุบันที่ต้องมีการทำงานแข่งขันกับเวลา บวกกับเป็นยุคที่มีเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทกับการดำเนินชีวิตของประชาชน สังคม ครอบครัว มากมายจนบางครั้ง ''เป็นสังคมก้มหน้า''คนอยู่ใกล้กันเหมือนจะไม่ได้คุยกัน เด็กติดเกมส์ ผู้ใหญ่ติดไลน์ ติดเฟสบุ้ค ความสัมพันธ์ในครอบครัวค่อยๆห่างกันจนเกิดปัญหามากมาย เช่น ปัญหาครอบครัวแตกแยก หย่าร้าง ความรุนแรงในครอบครัว บางครั้งนำไปสู่ปัญหาใหญ่ คือ ปัญหาสภาพจิตใจ ปัญหายาเสพติด ซึ่งปัญหาเหล่านี้ไม่มีใครต้องการให้เกิดขึ้นกับครอบครัวตัวเอง หรือ แม้สังคมก็ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นเพราะการไม่มีเวลาให้แก่กัน ความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน ต่างคนต่างความคิด ทั้งๆที่ความรักความผูกพันของคนในครอบครัว คือ สิ่งสำคัญได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว ดังนั้น ทางผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย และกรรมการหมู่บ้าน เล็งเห็นความสำคัญถึงปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการ สุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ขึ้นมา เพื่อเป็นการลดช่องว่างของสมาชิกในครอบครัว และสังคมให้มีความรักความผูกพัน มีความเห็นอกเห็นใจ เข้าใจกันเพื่อเป็นการลดปัญหาดังกล่าว โดยเน้นให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มี สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี สุขภาพใจดี เมื่อสามสิ่งนี้มาร่วมกันแล้วชีวิตก็จะมีความสุขทั้งในครอบครัว และ สังคมได้อย่างมีความสุขตลอดไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่

ร้อยละมีความเข้าใจกันในปัญหาสุขภาพกันมากขึ้น มีทักษะในการปฏิบัติตัวสามารถแก้ปัญหาต่างๆในผู้รับการอบรม

1.00
2 2. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ร้อยละส่งเสริมสุขภาพจิตลดภาวะซึมเศร้า ในครอบครัวอันเป็นปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางจิต สุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจ ที่ก่อให้เกิดโรคเครียด โรคซึมเศร้า ฯลฯ

1.00
3 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เห็นถึงสาเหตุของปัญหาสุขภาพในแต่ละวัน ปัญหาสุขภาพจิต ในครอบครัวและภาวะเครียด

ร้อยละผู้เข้าร่วมโครงการได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และช่วยกันแก้ปัญหาทางสังคมได้ระดับหนึ่ง

1.00
4 4. เพื่อส่งเสริมให้คนในครอบครัวมีเวลาให้กันและกัน เข้าใจกัน

ร้อยละกลุ่มคนสามวัยมีทัศนคติที่ดีต่อกันและอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ม.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว 40 8,432.00 0.00
รวม 40 8,432.00 1 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีความเข้าใจกันในปัญหาสุขภาพกันมากขึ้น มีทักษะในการปฎิบัติตัวสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ในผู้รับการอบรม 2.ส่งเสริมสุขภาพจิตลดภาวะซึมเศร้า ในครอบครัวอันเป็นปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางจิต สุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจ ที่ก่อให้เกิดโรคเครียด โรคซึมเศร้า
3.ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และช่วยกันแก้ปัญหาทางสังคมได้ระดับหนึ่ง 4.กลุ่มคนสามวัยมีทัศนคติที่ดีต่อกันและร่วมกันได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 เม.ย. 2566 13:58 น.