กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการบำบัดชีวิต พิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย

หัวหน้าโครงการ
นางนิชาภา ศรีสังข์ทอง

ชื่อโครงการ โครงการบำบัดชีวิต พิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L8404-1-05 เลขที่ข้อตกลง 5/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบำบัดชีวิต พิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบำบัดชีวิต พิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบำบัดชีวิต พิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย รหัสโครงการ 2566-L8404-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู้สังคมสูงวัย กำลังเป็นประเด็นที่หลายประเทศทั่วโลกให้ความสำคัญนำมาซึ่งความท้าทายในหลายมิติ ในส่วนของประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์(aged society)โดยจากข้อมูล united nations world population ageing พบว่า หลังจากปี 2552 ประชากรที่อยู่ในวัยพึ่งพึงได้แก่ เด็กและผู้สูงอายุ จะมีจำนวนมากกว่าประชากรในวัยแรงงาน และในปี 2560 จะเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ประชากรเด็กน้อยกว่าผู้สูงอายุ จากการสำรวจสุขภาพประชาชนเมื่อปี 2557 พบว่าโรคที่มักพบในผู้สูงอายุได้แก่ ข้ออักเสบ/ข้อเสื่อม โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคอ้วน นอกจากนี้ผู้สูงอายุเกินกว่าร้อยละ 10 มีปัญหาการขึ้นลงบันได การกลั้นอุจจาระ หรือปัสสาวะไม่ได้ การทรงตัว ดังนั้นการดูแลผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องสำคัญ ควรมีการดูแล ส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ เพื่อลดการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ให้พึ่งพาตนเองได้สามารถดำรงชีวิตและปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้อย่างปกติ ซึ่งควรจัดให้มีการพัฒนามาตรฐานและแนวทางการให้การผู้สูงอายุให้มีคุณภาพ มาตรฐานเพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี เจ็บป่วยน้อยลง   มณีเวชเป็นศาสตร์ที่ถูกค้นพบโดยการนำเอาภูมิปัญญาไทย จีน อินเดีย มาบูรณาการร่วมกับหลักกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา (anatomy and physiology)มาใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันการเกิดโรคได้ มณีเวชแนะนำการใช้ชีวิตให้มีอิริยาบถที่ถูกต้อง ทั้งการยืน เดิน นั่ง นอน การขึ้นลงเตียง เพื่อให้ร่างกายอยู่ในสมดุล เน้นการปรับส่วนต่างๆของร่างกายให้สมดุลด้วยตนเอง โดยใช้ท่าบริหารมาตรฐาน 5 ท่าได้แก่ ท่าไหว้สวัสดี ท่าโม่แป้ง ท่าถอดเสื้อ ท่ากรรเชียง ท่าปล่อยพลังและท่านอน 3 ท่าได้แก่ ท่างู ท่าแมว ท่าเต่า รวมถึงท่านั่ง ท่าผีเสื้อ เพื่อปรับสมดุลร่างกายส่วนล่างและในกรณีที่ร่างกายผิดปกติมากหรือไม่สามารถจัดรักษาตัวเองได้ ก็สามารถจัดโครงสร้างกระดูกเพื่อปรับรักษาร่างกายให้สมดุลได้ การจัดโครงสร้างให้ผู้อื่นในเด็กตั้งแต่แรกเกิดสามารถรักษาอาการผิดปกติต่างๆได้ ส่วนในผู้ใหญ่สามารถรักษาภาวะกระดูกสันหลังคด ไมเกรน ภูมิแพ้ office syndrome และในผู้สูงอายุ มณีเวชเป็นวิชาการแพทย์ที่ใช้ต้นทุนต่ำประหยัด พอเพียง เรียบร้อยและมีประสิทธิภาาพสูง ใช้หลักของธรรมชาติในการบำบัดรักษา แนะนำการใช้ชีวิตให้มีสติในอิริยาบถต่างๆ เพื่อให้โครงสร้างร่างกายอยู่ในสมดุล และเป็นวิชาที่รักษาที่สาเหตุของโรคอย่างแท้จริงสามารถใช้วิชา มณีเวช ในทุกมิติของสุขภาพทั้งในการสุขภาพ (health promotion)การป้องกันโรค(prevention)การวินิจฉัย(diagnosis)การรักษาโรค(treatment)และการฟื้นฟูสมรรถภาพของร่างกาย(rehabilitation)           โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อยเห็นถึงความสำคัญในการใช้ศาสตร์มณีเวช มาดูแลผู้ป่วยประชาชนและบุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย จึงได้จัดทำโครงการบำบัดชีวิต พิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวชนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ผู้เข้ารับอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ศาสตร์มณีเวช
  2. 2.ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์มณีเวชในกการดูแลสุขภาพตนเองได้
  3. 3.เพื่อเป็นการพัฒนางานบริการส่งเสิมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการบำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช
  2. โครงการบำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ศาสตร์มณีเวช 2.ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์มณีเวชในการดูแลสุขภาพได้ 3.ผู้เข้ารับการอบรมพึงพอใจในการพัฒนางานบริการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการบำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.08.00-9.00 - ลงทะเบียนรับเอกสารอบรม                   - พิธีเปิด 2.9.00-10.00 - อบรมให้ความรู้ พื้นฐานการปรับ                       สมดุลร่างกายด้วยศาสตร์มณีเวช 3.10.00-12.00- อบรมเชิงปฏิบัติการ ท่ายืน ท่าเดิน ท่านั่ง และการขึ้นเตียงที่ถูกต้อง(โดยแบ่งเป็น๒กลุ่มละ ๒๕คน) 4.12.00-13.00 -พักรับประทานอาหารกลางวัน 5.13.00-16.00 - อบรมเชิงปฏิบัติการการปรับสมดุลร่างกาย(แบ่งเป็น๒กลุ่มๆละ๒๕คน)                     - ท่าสวัสดี                     - ท่าถอดเสื้อ                     - ท่ากรรเชียง                     - ท่าโม่แป้ง                     - ท่าปล่อยพลัง                     - ท่างู                     - ท่าแมว                     -ท่าเต่า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ศาสตร์มณีเวช 2.ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์มณีเวชในการดูแลสุขภาพได้ 3.ผู้เข้ารับการอบรมพึงพอใจในการพัฒนาการบริการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ผู้เข้ารับอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ศาสตร์มณีเวช
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้เข้ารับอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ศาสตร์มณีเวชเพิ่มมากขึ้น
1.00

 

2 2.ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์มณีเวชในกการดูแลสุขภาพตนเองได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์มณีเวชในกการดูแลสุขภาพตนเองได้
1.00

 

3 3.เพื่อเป็นการพัฒนางานบริการส่งเสิมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้เข้าการอบรมพึงพอใจในการพัฒนางานบริการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ผู้เข้ารับอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ศาสตร์มณีเวช (2) 2.ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์มณีเวชในกการดูแลสุขภาพตนเองได้ (3) 3.เพื่อเป็นการพัฒนางานบริการส่งเสิมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการบำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช (2) โครงการบำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบำบัดชีวิต พิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L8404-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิชาภา ศรีสังข์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด