กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการสุขภาพดี อาหารปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี2566 ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางเกษรินทร์ คเชนทองสุวรรณ์ (ครู รักษาการหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทำนบ)

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี อาหารปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี2566

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5264-3-03 เลขที่ข้อตกลง 01/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี อาหารปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี อาหารปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี อาหารปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5264-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นหนึ่งในปัยจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นเหตุสำคัญของกากรเกิดโรคภัยไข้เจ็บโดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้วสิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือคุณค่าตามหลักโภชนาการคุณภาพความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ ปัจจุบันผักที่นำมาใช้ปรุงอาหารในครัวเรือนเป็นผักที่จัดซื้อจากท้องตลาด ซึ่งผักส่วงนใหญ่มีการปนเปื้อนสารเคมี โดยปกติก่อนการปรุง ถึงจะล้างทำความสะอาดอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถชะล้างสารตกค้างออกได้ทั้งหมด ส่งผลให้ผู้บริโภคอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากการบริโภคพืชผักและผลไม้ที่ไม่ปลอดภัยทำให้มีการสะสมสารพิษในร่างกายอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้ซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว หากเด็กรับประทานอาหารผักมีสารเคมีปนเปื้อน แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการรณรงค์ส่งเสริมในเรื่องการลด การเสี่ยง เลิกการใข้สารพิษในการเกษตรแตเกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงชชินกับรูปแบบดิมโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัยทางด้านสุขภาพของผู้บริโภค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
  2. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
  3. เพื่อให้เด็กเล็กมีสุขภาพดีด้วยการรับประทานผักปลอดสารพิษ
  4. เพื่อให้เด็กเล็กมีพัฒนาการแข็งแรงสมวัย
  5. เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม วางแผนโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม และทำความเข้าใจ
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. กิจกรรมประเมินและคัดกรองภาวะพัฒนาการและโภชนาการเด็ก
  4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับโภชนาการอาหารที่ถูกหลักอนามัยในเด็ฏปฐมวัยและการปลูกผักปลอดสารพิษ
  5. ประเมินผลโครงการ
  6. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 39
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 51
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กเล็กมีร่างกายพัฒนาการสมวัย 2.เด็กเล็กมีร่ายการเจริญเติบโตสมวัย 3.เด็กเล็กมีสุขภาพร่่างกายแข็งแรงสมวัย 4.เด็กเล็กสุขภาพดีด้วยการกินผักปลอดสารพิษ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม วางแผนโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม และทำความเข้าใจ

วันที่ 3 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงาน - ได้กำหนดกิจกรรม งบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำโครงการเสนอขอรับการสนับสนุนจากกองทุนฯ

 

5 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 21 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกลุ่มเป้าหมายมาสมัครเข้าร่วมโครงการตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

 

0 0

3. กิจกรรมประเมินและคัดกรองภาวะพัฒนาการและโภชนาการเด็ก

วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประเมินและคัดกรองภาวะพัฒนาการและโภชนาการเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รู้การพัฒนาการของเด็กและโภชนาการของเด็กมากยิ่งขึ้น

 

51 0

4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับโภชนาการอาหารที่ถูกหลักอนามัยในเด็ฏปฐมวัยและการปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการอาหารที่ถูกหลักอนามัยในเด็กปฐมวัย งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 90 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,250 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเสริมสร้างทักษะการปลูกผักปลอดสารพิษ - ค่าแปลงผักยกแคร่ หลังละ 1,500 x 2 หลัง เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าดินปลูก ถุงละ 25 x 100 ถุง เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าสมุด - ปากกา ชุดละ 20 x 39 ชุด เป็นเงิน 780 บาท - ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1 x 3 เมตร เป็นเงิน 450 บาท - ค่าเมล็ดผัก ถุงละ 20 x 56 ถุง เป็นเงิน 500 บาท - ค่าปุ๋ยชีวภาพ กระสอบละ 500 x 1 กระสอบ เป็นเงิน 500 บาท - ค่าขุ่ยมะพร้าว ถุงละ 80 x 5 ถุง เป็นเงิน 400 บาท - ค่ามูลวัว กระสอบละ 10 x 50 กระสอบ เป็นเงิน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และนักเรียนได้มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการอาหารที่ถูกหลักอนามัยในเด็กปฐมวัยและได้มีส่วนร่วมในการปลูกผัดปลอดสารพิษแบบยกแคร่

 

51 0

5. ประเมินผลโครงการ

วันที่ 22 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลความก้าวหน้าของโครงการ
- รายงานผลประเมินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลการประเมินโครงการ

 

0 0

6. สรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 29 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินโครงการ - จัดทำรูปเล่มสรุปโครงการรายงานผลต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า(คน)
1.00 0.00 0.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
20.00 5.00 5.00

 

3 เพื่อให้เด็กเล็กมีสุขภาพดีด้วยการรับประทานผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กเล็กที่มีสุขภาพดีจากการรับประทานผักปลอดสารพิษ
20.00 70.00 70.00

 

4 เพื่อให้เด็กเล็กมีพัฒนาการแข็งแรงสมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กเล็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน
80.00 90.00 90.00

 

5 เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
100.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 39 39
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 51 51
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า (2) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ (3) เพื่อให้เด็กเล็กมีสุขภาพดีด้วยการรับประทานผักปลอดสารพิษ (4) เพื่อให้เด็กเล็กมีพัฒนาการแข็งแรงสมวัย (5) เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม วางแผนโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม และทำความเข้าใจ (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) กิจกรรมประเมินและคัดกรองภาวะพัฒนาการและโภชนาการเด็ก (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับโภชนาการอาหารที่ถูกหลักอนามัยในเด็ฏปฐมวัยและการปลูกผักปลอดสารพิษ (5) ประเมินผลโครงการ (6) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี อาหารปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5264-3-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเกษรินทร์ คเชนทองสุวรรณ์ (ครู รักษาการหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทำนบ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด