โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566 ”
ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางพัชรี เถอรักษ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง
สิงหาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566
ที่อยู่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L1512-05-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1512-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโรคหนึ่งนับตั้งแต่มีการระบาดครั้งแรกในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2501 จนปัจจุบันผู้ป่วยยังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมีการแพร่กระจายไปทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการคมนาคมสะดวก ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก ได้แก่ คน เชื้อก่อโรค ยุงพาหะนำโรค และสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และจากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 2 ธันวาคม 2565 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 39,141 ราย อัตราป่วย 59.15 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 27 ราย อัตราป่วย-ตาย ร้อยละ 0.07 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เขต 12 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 1,728 ราย อัตราป่วย 34.56 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 1 ราย อัตราป่วย-ตาย ร้อยละ 0.06 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดตรัง มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 227 ราย อัตราป่วย 35.48 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 0 ราย อัตราป่วย-ตายร้อยละ 0.00 สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตั้งแต่ปี 2551-2565 ของจังหวัดตรัง มีลักษณะแนวโน้มการเกิดโรคเป็นแบบระบาด 2 ปี เว้น 1 ปี สถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอรัษฎา มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย (DHF 4 รายคิดเป็นร้อยละ 13.71 อาศัยในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านคลองมวน เขตรับผิดชอบ รพ.สต.คลองปาง และรพ.สต.เขาไพร) จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกย้อนหลัง 5 ปี พบผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก และขณะป่วยหรือมีอาการฟักตัวอยู่กำลังศึกอยู่โรงเรียนวัดเขาพระโดยระหว่างระยะฟักตัวของโรคได้เรียนอยู่ที่โรงเรียนวัดเขาพระซึ่งเป็นสถานที่เด็กมาอยู่รวมกันในช่วงเวลากลางวัน สัมพันธ์กับวิถีชีวิตของยุงลายจึงเป็นแหล่งที่มีความเสี่ยงของการเกิดโรคสูงจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อชีวิต หากไม่มีการควบคุมโรคอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง โดยเฉพาะการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นการควบคุมโรคที่ต้นเหตุโดยเร่งด่วนแล้ว อาจส่งผลให้เกิดการระบาดของโรคนี้ในโรงเรียนได้
จากสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้นประกอบกับพื้นที่เสี่ยงไม่พร้อมให้พ่นหมอกควันทำให้ยากแก่การควบคุมโรค เพื่อความสะดวกในการดำเนินการควบคุมโรคได้ทันเวลา ดังนั้นทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ม.3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง จึงได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการควบคุมโรคไข้เลือดออกที่มีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ้นในปี 2566 ซึ่งการพ่นหมอกควันเป็นอีกวิธีหนึ่งที่สำคัญของการกำจัดยุงลายตัวแก่และการป้องกันการโดนยุงกัดทั้งผู้ป่วยหรือผู้อาศัยอยู่ร่วมกันมีส่วนช่วยในการควบคุมการระบาดของโรคได้ ด้วยเหตุนี้จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก รวมทั้งเป็นการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายรวมถึงการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหนะนำ โรคไข้เลือดออกในครัวเรือน หมู่บ้าน วัด โรงเรียน อย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการโรคระบาดและภัยพิบัติ โรคไข้เลือดออก ปี 2566
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
- ข้อที่ ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่หมู่ 3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง
- ข้อที่ ๓.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ข้อที่ 4.เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาด
ในชุมชน
2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่ตำบลคลองปางลดลง
3.ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันไข้เลือดออก
4.เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
2
ข้อที่ ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่หมู่ 3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่ตำบลคลองปางลดลง
3
ข้อที่ ๓.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึง การควบคุมป้องกันไข้เลือดออก
4
ข้อที่ 4.เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกัน โรคไข้เลือดออก
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
10
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (2) ข้อที่ ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่หมู่ 3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง (3) ข้อที่ ๓.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) ข้อที่ 4.เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L1512-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางพัชรี เถอรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566 ”
ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางพัชรี เถอรักษ์
สิงหาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L1512-05-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1512-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโรคหนึ่งนับตั้งแต่มีการระบาดครั้งแรกในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2501 จนปัจจุบันผู้ป่วยยังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมีการแพร่กระจายไปทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการคมนาคมสะดวก ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก ได้แก่ คน เชื้อก่อโรค ยุงพาหะนำโรค และสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และจากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 2 ธันวาคม 2565 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 39,141 ราย อัตราป่วย 59.15 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 27 ราย อัตราป่วย-ตาย ร้อยละ 0.07 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เขต 12 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 1,728 ราย อัตราป่วย 34.56 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 1 ราย อัตราป่วย-ตาย ร้อยละ 0.06 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดตรัง มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 227 ราย อัตราป่วย 35.48 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 0 ราย อัตราป่วย-ตายร้อยละ 0.00 สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตั้งแต่ปี 2551-2565 ของจังหวัดตรัง มีลักษณะแนวโน้มการเกิดโรคเป็นแบบระบาด 2 ปี เว้น 1 ปี สถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอรัษฎา มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย (DHF 4 รายคิดเป็นร้อยละ 13.71 อาศัยในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านคลองมวน เขตรับผิดชอบ รพ.สต.คลองปาง และรพ.สต.เขาไพร) จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกย้อนหลัง 5 ปี พบผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก และขณะป่วยหรือมีอาการฟักตัวอยู่กำลังศึกอยู่โรงเรียนวัดเขาพระโดยระหว่างระยะฟักตัวของโรคได้เรียนอยู่ที่โรงเรียนวัดเขาพระซึ่งเป็นสถานที่เด็กมาอยู่รวมกันในช่วงเวลากลางวัน สัมพันธ์กับวิถีชีวิตของยุงลายจึงเป็นแหล่งที่มีความเสี่ยงของการเกิดโรคสูงจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อชีวิต หากไม่มีการควบคุมโรคอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง โดยเฉพาะการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นการควบคุมโรคที่ต้นเหตุโดยเร่งด่วนแล้ว อาจส่งผลให้เกิดการระบาดของโรคนี้ในโรงเรียนได้ จากสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้นประกอบกับพื้นที่เสี่ยงไม่พร้อมให้พ่นหมอกควันทำให้ยากแก่การควบคุมโรค เพื่อความสะดวกในการดำเนินการควบคุมโรคได้ทันเวลา ดังนั้นทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ม.3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง จึงได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการควบคุมโรคไข้เลือดออกที่มีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ้นในปี 2566 ซึ่งการพ่นหมอกควันเป็นอีกวิธีหนึ่งที่สำคัญของการกำจัดยุงลายตัวแก่และการป้องกันการโดนยุงกัดทั้งผู้ป่วยหรือผู้อาศัยอยู่ร่วมกันมีส่วนช่วยในการควบคุมการระบาดของโรคได้ ด้วยเหตุนี้จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก รวมทั้งเป็นการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายรวมถึงการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหนะนำ โรคไข้เลือดออกในครัวเรือน หมู่บ้าน วัด โรงเรียน อย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการโรคระบาดและภัยพิบัติ โรคไข้เลือดออก ปี 2566
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
- ข้อที่ ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่หมู่ 3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง
- ข้อที่ ๓.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ข้อที่ 4.เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาด ในชุมชน 2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่ตำบลคลองปางลดลง 3.ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันไข้เลือดออก 4.เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน |
|
|||
2 | ข้อที่ ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่หมู่ 3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่ตำบลคลองปางลดลง |
|
|||
3 | ข้อที่ ๓.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึง การควบคุมป้องกันไข้เลือดออก |
|
|||
4 | ข้อที่ 4.เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกัน โรคไข้เลือดออก |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 10 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (2) ข้อที่ ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่หมู่ 3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง (3) ข้อที่ ๓.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) ข้อที่ 4.เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมป้องกันโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L1512-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางพัชรี เถอรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......