กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง


“ โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร) ”

ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุชาติ ตาแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร)

ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3344-2-25 เลขที่ข้อตกลง 30/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3344-2-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสุขภาพของคนไทยในภาพรวมดีขึ้น ระบบบริการสุขภาพมีความครอบคลุมและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่เจริญก้าวหน้าทำให้การรักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นเป็นผลให้ประชาชนมีอายุยืนยาว อัตราการเกิดโรคติดเชื้อลดลง แต่ในขณะเดียวกันมีความเจริญทางด้านวัตถุเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากขึ้นทำให้คนส่วนใหญ่มีความสะดวกสบายในการใช้ชีวิตประจำวันไม่ค่อยได้ใช้แรงกายอาหารการกินก็ได้รับวัฒนธรรมทางตะวันตกเข้ามาทำให้เกิดภาวะโภชนาการเกิน พบว่าอัตราการเกิดอุบัติการณ์ของโรคไม่ติดเชื้อเพิ่มจำนวนมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลือด
จากฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหารประจำปี 2565 พบว่ามีผู้ป่วยโรคเบาหวาน 50 ราย และโรคความดันโลหิตสูง 142 ราย ซึ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงกลุ่มที่มีอาการแล้วเข้ารับการรักษา และจากการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของระบบบริการงานโรคไม่ติดต่อเนื่องจากเป็นนโยบายเชิงรุกในการเร่งค้นหา และเฝ้าระวังด้านพฤติกรรมสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหาร ประจำปี 2558 พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด 49 ราย และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด 491 ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหาร จึงมีแนวคิดในการจัดทำโครงการควบคุมป้องกันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานแบบมีส่วนร่วมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหาร โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของอสม.ในการคัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ถูกต้อง
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 6 บ้านเขาจันทร์ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

วิธีดำเนินงาน ระยะเตรียมการ 1. ประชุมเจ้าหน้าที่ในเครือข่ายอสม.เพื่อค้นหาปัญหา 2. นำเสนอปัญหาพร้อมเขียนโครงการ/ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านหอกระจายข่าวและอสม. ระยะดำเนินการ 1. จัดประชุมอสม.แกนนำ/ฟื้นฟูความรู้และแนวคิดพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง 2. เก็บข้อมูลพฤติกรรม 3 อ. 3. ดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่และอสม. 4. แปรผลการตรวจคัดกรอง/จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง
5. รวบรวมข้อมูลกลุ่มเสี่ยงจัดทำทะเบียนกลุ่มปกติ/กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย ระยะหลังดำเนินการ 1. เฝ้าระวังพฤติกรรมและคัดกรองกลุ่มสี่ยงครั้งที่ 2 2. นิเทศติดตาม 3. ประเมินผล/สรุปโครงการ งบประมาณ จากเงินบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหารรับโอนจากงบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคการสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองธง จำนวน 14,050 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันห้าสิบบาทถ้วน) ดังรายการต่อไปนี้ 1. ค่าแถบตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 5 กล่องๆ ละ 950 บาท      เป็นเงิน 4,750 บาท 2. ค่าเข็มเจาะเลือดที่ปลายนิ้ว  จำนวน 1.5 กล่อง ๆ ละ 900 บาท    เป็นเงิน 1,350 บาท 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 300 คน ๆละ 25 บาท    เป็นเงิน 7,500 บาท 4. ค่าจัดทำป้ายไวนิล ขนาด 1.0*3.0 เมตร ตารางเมตรละ 150 บาท    เป็นเงิน  450 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 14,050 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันห้าสิบบาทถ้วน) ดังรายการต่อไปนี้ หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหาร อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงจากโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง 2. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนในการดูแลตนเองได้ วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 2. กลุ่มเสี่ยง มีทัศนคติที่ดี ร้อยละ 80 3. กลุ่มเสี่ยง มีการปฎิบัติตนที่ถูกต้องในการควบคุมและป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค้นหากลุ่มเสี่ยง ให้ความรู้ และติดตามเยี่ยมบ้านปรับเปลี่ยนพติกรรมฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สมาชิกในครอบครัวมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
  2. สมาชิกในครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรมและรับการตรวจคัดกรองตามที่กำหนด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค้นหากลุ่มเสี่ยง ให้ความรู้ และติดตามเยี่ยมบ้านปรับเปลี่ยนพติกรรมฯ

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑. ให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเลือด ๒. ตรวจคัดกรองหาระดับสารเคมี  ในเลือกแก่กลุ่มเป้า หมายทุกราย ๓. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ๔. ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. กลุ่มเป้าหมายได้รับคัดกรอง >= ร้อยละ ๙๐ ๒. กลุ่มปกติมีความรู้เรื่องสารเคมีในเลือดเพิ่มขึ้น ๓. กลุ่มเสี่ยงได้รับการเยี่ยมบ้านและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงทุกราย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงจากโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง 2. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนในการดูแลตนเองได้ วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 2. กลุ่มเสี่ยง มีทัศนคติที่ดี ร้อยละ 80 3. กลุ่มเสี่ยง มีการปฎิบัติตนที่ถูกต้องในการควบคุมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน 2. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมประชุมและอบรมเรื่องโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงจากโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง  2. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนในการดูแลตนเองได้  วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70  2. กลุ่มเสี่ยง มีทัศนคติที่ดี ร้อยละ 80 3. กลุ่มเสี่ยง มีการปฎิบัติตนที่ถูกต้องในการควบคุมและป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหากลุ่มเสี่ยง ให้ความรู้ และติดตามเยี่ยมบ้านปรับเปลี่ยนพติกรรมฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร)

รหัสโครงการ 66-L3344-2-25 รหัสสัญญา 30/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3344-2-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุชาติ ตาแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด