กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู


“ โครงการรวมพลังเยาวชน บางปูสุขภาพดีด้วยวิถีชุมชน ”

ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
เยาวชนในเขตเทศบาลตำบลบางปูที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการป้องกัน เรียนรู้การแก้ไขปัญหา มีความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ได้รับการส่งเสริมและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังเยาวชน บางปูสุขภาพดีด้วยวิถีชุมชน

ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L70080211 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังเยาวชน บางปูสุขภาพดีด้วยวิถีชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังเยาวชน บางปูสุขภาพดีด้วยวิถีชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังเยาวชน บางปูสุขภาพดีด้วยวิถีชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L70080211 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 93,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาของเยาวชนในสังคมไทยรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้านกายภาพเศรษฐกิจและสังคมเมืองประกอบกับเยาวชนเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการเจริญเติบโตมีความเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายจิตใจและอารมณ์ทำให้วัยรุ่นประสบปัญหามากมายเช่นปัญหายาเสพติดปัญหาเรื่องเพศสัมพันธ์ ปัญหาความรุนแรง พฤติกรรม ปัญหาที่เกิดจากการขาดความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพร่างกาย เป็นต้น ซึ่งมีสาเหตุสำคัญจากปัญหาครอบครัวสภาพแวดล้อมใกล้ตัวที่ชักจูงไปในทางไม่ดี และการใช้ความรุนแรงในสังคมอีกทั้งการเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลกที่เต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสารแบบไร้ขีดจำกัด และช่องทางโซเชียลเน็ตเวิร์กที่ทำให้คนเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการ เยาวชนในสังคมไทย จึงควรได้รับการเตรียมความพร้อมให้มี “ทักษะ” ติดตัวเพื่อนำไปใช้ต่อการดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 ถือเป็นความท้าทายที่สุดต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลกที่เต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสารแบบไร้ขีดจำกัด และช่องทางโซเชียลเน็ตเวิร์กที่ทำให้คนเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการ ซึ่งการเตรียมความพร้อมเยาวชนให้มีความเท่าทันต่อเรื่องเหล่านี้ เป็นเรื่องสังคมไม่ควรละเลย สถานการณ์เยาวชนในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีมีแนวโน้มทวีความรุนแรงและก่อปัญหามากขึ้น อันเนื่องจากความอ่อนแอของสถาบันครอบครัว สภาพแวดล้อม และสภาพสังคม หากทุกฝ่ายให้ความสำคัญในการร่วมมือกันแก้ไขปัญหา ดูแลเอาใจใส่ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมที่ดีให้แก่เยาวชน ปัญหาพฤติกรรมทางลบต่างๆของวัยรุ่นก็มีแนวโน้มที่จะลดลง ศูนย์พัฒนาศักยภาพเยาวชน มัสยิดอัตตะอาวุน บางปู มีความตระหนักและเห็นถึงปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการรวมพลังเยาวชน บางปูสุขภาพดีด้วยวิถีชุมชน เพื่อหาวิธีป้องกันและแก้ไขปัญหานี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการ ป้องกัน ส่งเสริม รู้เท่าทันปัญหาสุขภาพ เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  2. เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการสื่อสาร การพูด ประเด็นสุขภาพ ผ่านรายการวิทยุในชุมชน และ คัดเลือกตัวแทนเยาวชนเป็นนักจัดรายการวิทยุ
  3. เพื่อเสริมสร้าง ทักษะและสร้างเกราะป้องกันตนเองจากภัยต่างๆใกล้ตัว เรียนรู้การแก้ไขปัญหาและ สร้างกระบวนการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมวงกลมล้อมรักษ์สุขภาพ
  2. 2. กิจกรรมอบรมเวทีคนเก่ง
  3. 3. กิจกรรมค่ายสุขหรรษาพัฒนาทักษะชึวิตช่วงปิดเทอม
  4. 4. กิจกรรม 3อ.สุขภาพดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 330
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เยาวชนในเขตเทศบาลตำบลบางปูที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการป้องกัน เรียนรู้การแก้ไขปัญหา มีความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ได้รับการส่งเสริมและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการ ป้องกัน ส่งเสริม รู้เท่าทันปัญหาสุขภาพ เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการสื่อสาร การพูด ประเด็นสุขภาพ ผ่านรายการวิทยุในชุมชน และ คัดเลือกตัวแทนเยาวชนเป็นนักจัดรายการวิทยุ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเสริมสร้าง ทักษะและสร้างเกราะป้องกันตนเองจากภัยต่างๆใกล้ตัว เรียนรู้การแก้ไขปัญหาและ สร้างกระบวนการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 330
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 330
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการ ป้องกัน ส่งเสริม รู้เท่าทันปัญหาสุขภาพ เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (2) เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการสื่อสาร การพูด ประเด็นสุขภาพ ผ่านรายการวิทยุในชุมชน และ      คัดเลือกตัวแทนเยาวชนเป็นนักจัดรายการวิทยุ (3) เพื่อเสริมสร้าง ทักษะและสร้างเกราะป้องกันตนเองจากภัยต่างๆใกล้ตัว เรียนรู้การแก้ไขปัญหาและ    สร้างกระบวนการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมวงกลมล้อมรักษ์สุขภาพ (2) 2. กิจกรรมอบรมเวทีคนเก่ง (3) 3. กิจกรรมค่ายสุขหรรษาพัฒนาทักษะชึวิตช่วงปิดเทอม (4) 4. กิจกรรม 3อ.สุขภาพดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังเยาวชน บางปูสุขภาพดีด้วยวิถีชุมชน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L70080211

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เยาวชนในเขตเทศบาลตำบลบางปูที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการป้องกัน เรียนรู้การแก้ไขปัญหา มีความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ได้รับการส่งเสริมและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด