กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L7258-1-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 20 เมษายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 15 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 203,425.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.01,100.474place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลสุขภาพและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตอันเป็นอำนาจหน้าที่ที่สำคัญอย่างหนึ่งของเทศบาล ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน ประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และแผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ 20ปี (พ.ศ.2561-2580) ประเด็นด้านความมั่นคง แผนย่อยการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง และแนวทางการป้องกันและการปราบปราม ยาเสพติด มุ่งยึดแนวคิดการแก้ไขปัญหายาเสพติดตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ในการดำเนินการอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะการเสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ ชุมชน    การแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับการแก้ไขปัญหายาเสพติด พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ตามแนวพระราชดำริของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามยุทธศาสตร์แนวทางการดำเนินงาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และศาสตร์พระราชา ซึ่งเป็นกรอบแก้ไขปัญหายาเสพติดและลดปัญหาเชิงโครงสร้างหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และการสร้างอาสาป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน การปรับระบบนิเวศน์ (สภาพแวดล้อม) ที่เหมาะสมโดยการเสริมสร้างปัจจัยที่เอื้อต่อการไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด การดูแลผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดให้เข้าถึงการบำบัดรักษา และการลดผลกระทบจากยาเสพติด โดยการคัดกรองประเมินวินิจฉัยที่มีประสิทธิภาพกำหนดแผนให้การบำบัดรักษาที่เหมาะสม ฟื้นฟูสมรรถภาพที่ครอบคลุมทุกมิติ ตลอดจนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมชุมชน อย่างปกติสุข

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยและสถานการณืการแพร่ระบาดของยาเสพติด
  1. ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนจากการทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยและสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60
2 2. จำนวนผู้ใช้ ผู้เสพ และผู้ติดยาเสพติด รวมถึงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือมีภาวะเสี่ยงต่อการใช้ การเสพ และการติดยาเสพติด ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ลดลง
  1. ผู้ใช้ ผู้เสพ และผู้ติดยาเสพติด รวมถึงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง/มีภาวะเสี่ยง ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ให้คำปฏิญาณว่าจะไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดอีก ไม่ว่ากรณีใดๆ
3 3. เพื่อสร้างรูปแบบการดำเนินงานชุมชนเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของชุมชนยั่งยืน
  1. เทศบาลนครหาดใหญ่มีรูปแบบการดำเนินงานชุมชนเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างยั่งยืน
4 3. เพื่อสร้างรูปแบบการดำเนินงานชุมชนเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของชุมชนยั่งยืน
  1. เทศบาลนครหาดใหญ่มีรูปแบบการดำเนินงานชุมชนเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างยั่งยืน
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยและสถานการณืการแพร่ระบาดของยาเสพติด

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. จำนวนผู้ใช้ ผู้เสพ และผู้ติดยาเสพติด รวมถึงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือมีภาวะเสี่ยงต่อการใช้ การเสพ และการติดยาเสพติด ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ลดลง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3. เพื่อสร้างรูปแบบการดำเนินงานชุมชนเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของชุมชนยั่งยืน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : 3. เพื่อสร้างรูปแบบการดำเนินงานชุมชนเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของชุมชนยั่งยืน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 พ.ค. 66 - 15 ก.ย. 66 กิจกรรมจัดอบรม มีการบรรยายให้ความรู้และจัดกิจกรรมกลุ่ม 0.00 200,000.00 -
15 พ.ค. 66 - 15 ก.ย. 66 กิจกรรมตรวจคัดกรองสารเสพติดในปัสสาวะ 0.00 0.00 -
20 มิ.ย. 66 กิจกรรมจัดประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 0.00 525.00 -
21 ก.ย. 66 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ 0.00 650.00 -
1 พ.ค. 66 - 15 ก.ย. 66 กิจกรรมตรวจคัดกรองสารเสพติดในปัสสาวะ 1800.00 0.00 -
15 มิ.ย. 66 ค่าวัสดุสำนักงาน 0.00 30,000.00 -
20 มิ.ย. 66 การประชุมคณะทำงาน 15.00 525.00 -
20 มิ.ย. 66 ค่าจัดทำสติ๊กเกอร์ สีขาว 50.00 1,500.00 -
20 มิ.ย. 66 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ 0.00 650.00 -
22 มิ.ย. 66 ค่ากระเป๋าพร้อมสกรีนข้อความรณรงค์และประชาสัมพันธ์โครงการใส่เอกสารของผู้เข้ารับการอบรม 50.00 7,500.00 -
23 - 27 มิ.ย. 66 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม+ค่าหารกลางวัน 70.00 52,500.00 -
23 - 27 มิ.ย. 66 ค่าสมนาคุณ วิทยากร 0.00 100,500.00 -
23 มิ.ย. 66 จัดทำคู่มือการอบรม 50.00 3,000.00 -
23 - 27 มิ.ย. 66 ค่าตกแต่งสถานที่ในพิธีเปิดและปิดการอบรม 0.00 5,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้ารับการอบรมได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยและสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด
  2. จำนวนผู้ใช้ ผู้เสพ และผู้ติดยาเสพติด รวมถึงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือมีภาวะเสี่ยงต่อการใช้ การเสพ และการติดยาเสพติด ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ลดลง
  3. ร้อยละของครัวเรือนที่ปล่อยสาเสพติดในชุมชนของเทศบาลนครหาดใหญ่เพิ่มขึ้น อันจะทำให้เทศบาลนครหาดใหญ่เป็นเทศบาลสีขาว ปลอดยาเสพติด
  4. เทศบาลนครหาดใหญ่มีรูปแบบการดำเนินงานชุมชนเข้มแข็งในการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
  5. คนในชุมชนมีความเป็นอยู่อย่างสงบสุข มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 เม.ย. 2566 11:18 น.