กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในปีงบประมาณ2566 ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายก้องภพ ทองมี รองประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในปีงบประมาณ2566

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5264-2-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในปีงบประมาณ2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในปีงบประมาณ2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในปีงบประมาณ2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5264-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“การตั้งครรภ์” หากเกิดขึ้นกับหญิงที่มีความพร้อมไม่ว่าจะเป็นทางด้านสรีระร่างกายวัยภาวะด้านคุณวุฒิ และวัยวุฒิก็คงเป็นเรื่องน่ายินดี และสร้างความสุขให้กับครอบครัวของหญิงนั้น ๆ แต่ถ้าหากเกิดขึ้นกับผู้ที่ยังเป็น “เด็กหญิง” ซึ่งมีอายุระหว่าง ๙ – ๑๙ ปีก็มักก่อเกิดปัญหาตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ทั้งต่อตัวเด็กเอง และครอบครัวมีข้อมูลจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์พบว่าสภาวะการตั้งครรภ์และคลอดบุตรก่อนวัยอันควรของหญิงอายุต่ำกว่า๑๕ปีบริบูรณ์และหญิงอายุต่ำกว่า ๒๐ ปีบริบูรณ์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเกือบทุกปี การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหรือท้องวัยทีนคือการตั้งครรภ์เมื่ออายุ ๑๙ปี หรืออ่อนกว่านี้พบร้อยละ๑๐ – ๓๐ของการตั้งครรภ์ทั้งหมดนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของทุกประเทศทั่วโลกใน ๑๐ ปีมานี้เองท้องในวัยทีนในประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น จากร้อยละ ๑๐ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖เป็นกว่าร้อยละ ๑๐ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖เป็นกว่าร้อยละ ๒๐ในปัจจุบันนอกจากนั้นอายุของแม่วัยทีนนับวันยิ่งน้อยลงต่ำสุดพบเพียง๑๒ปีขณะที่ในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวโน้มในวัยทีนมีจำนวนลดลงตามลำดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการท้องในวัยทีนได้แก่ฐานะยากจนเล่าเรียนน้อยดื่มสุราติดยาเสพติดปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัวซึ่งเป็นปัจจัยที่แก้ไขได้ยากแต่มีปัจจัยหนึ่งซึ่งน่าจะแก้ไขได้และเป็นปัจจัยที่ทำให้ท้องในวัยทีนในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วคือ ค่านิยมการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นนั่นเอง วัยรุ่นหมายถึงกลุ่มบุคคลที่มีอายุระหว่าง๙-๑๙ ปีซึ่งเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกายจิตใจอารมณ์และสติปัญญาโดยมีลักษณะสำคัญ๓ประการ คือมีการพัฒนาทางร่างกายโดยเฉพาะมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะเพศ จนมีวุฒิภาวะทางเพศอย่างสมบูรณ์มีพัฒนาการด้านจิตใจซึ่งเป็นระยะที่เปลี่ยนแปลงจากเด็กเป็นผู้ใหญ่และมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคมโดยเปลี่ยนจากการพึ่งพาครอบครัวมาเป็นผู้ที่สามารถประกอบอาชีพและมีรายได้ของตนเอง หรือมีสิทธิทางกฎหมายในเรื่องต่าง ๆเช่นห้ามเด็กที่มีอายุต่ำกว่า ๑๕ ปีบริบูรณ์ทำงานเยาวชนที่มีอายุ ๑๘ปีขึ้นไปหากกระทำผิดต้องขึ้นศาลผู้ใหญ่เป็นต้นในด้านพัฒนาการทางอารมณ์และจิตใจ พบว่าวัยรุ่นอยากรู้ อยากเห็น และอยากทดลองต้องการการยอมรับจากเพื่อน ดังนั้นวัยรุ่นจึงเป็นวัยที่อาจถูกชักจูงได้ง่ายขาดความนับถือตัวเองรวมถึงขาดทักษะในการดำเนินชีวิต ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง(riskbehavior)ในด้านต่าง ๆ เช่นขับรถประมาทยกพวกตีกันดื่มสุราและใช้สารเสพติดมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ระวังส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นทั้งนี้พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าวเป็นสาเหตุการตายในวัยรุ่นโดยเฉพาะเพศหญิงได้แก่การทำแท้งเถื่อนการคลอดบุตรทั้งที่มีอายุน้อยการติดเชื้อHIVฯลฯซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นพฤติกรรมที่สามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้สังคมในปัจจุบันตัวเลขวัยรุ่นไทยตั้งท้องในวัยเรียนสูงเป็นอันดับ ๑ของเอเชียอาคเนย์และมีอัตราส่วนสูงกว่าวัยรุ่นในยุโรปและอเมริกาเฉลี่ยอายุของการตั้งครรภ์ในวัยเรียนน้อยสุด ๑๒ปีและไม่เกิน๑๙ปี เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาอันอาจจะเกิดขึ้นกับวัยรุ่นไทยในอนาคต สภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบร่วมกับรพ.สต.ในพื้นที่จึงจัดทำโครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ขึ้นเพื่อเป็นการเสริมสร้างค่านิยมใหม่กับวัยรุ่นไทยให้รู้จักรักและเห็นคุณค่าของตัวเองเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นให้ลดหรือหมดไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
  2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ
  3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนและนำหลักคำสอนดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  2. ประชุมชี้แจง /เตรียมทีมวิทยากร
  3. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. ดำเนินการตามโครงการ
  5. ประเมินผลการดำเนินงาน สรุปผล และรายงานผลการดำเนินโครงการแก่ผู้บริหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้สร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 2. ทำให้เด็กป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ 3. ทำให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนและนำหลักคำสอนดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำโครงการ - เขียนโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม - งบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้โครงการตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

 

0 0

2. ประชุมชี้แจง /เตรียมทีมวิทยากร

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการกำหนดหน้าที่กันตามที่ได้รับมอบหมาย

 

0 0

3. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานหน่วยที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้การตอบรับเข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี

 

0 0

4. ดำเนินการตามโครงการ

วันที่ 26 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 1. ค่าอาการกลางวันจำนวน 45 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท 2. ค่าอาหารและเครื่องดื่มจำนวน 45 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท 3. ค่าวัสดุ อุปกรณ์ในการอบรม 45 คน x 50 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท 4. ค่าวิทยากรจำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท 5. ค่าป้ายโครงการขนาด 1.2 x 3 เมตร เป็นเงิน 540 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้ามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้อย่างถูกวิธี

 

45 0

5. ประเมินผลการดำเนินงาน สรุปผล และรายงานผลการดำเนินโครงการแก่ผู้บริหาร

วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประเมินผลโครงการ -สรุปค่าใช้จ่ายในโครงการ -สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลโครงการสำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
50.00 70.00 70.00

 

2 เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
50.00 70.00 70.00

 

3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนและนำหลักคำสอนดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนของศาสนาและนำหลักคำสอนดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
60.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45 45
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร (2) เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเอช-ไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนและนำหลักคำสอนดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ (2) ประชุมชี้แจง /เตรียมทีมวิทยากร (3) ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) ดำเนินการตามโครงการ (5) ประเมินผลการดำเนินงาน  สรุปผล  และรายงานผลการดำเนินโครงการแก่ผู้บริหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในปีงบประมาณ2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5264-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายก้องภพ ทองมี รองประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด