กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการ ค่ายครอบครัวไทยห่างไกลยาเสพติด ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางเสนาะ กลิ่นบุบผา ประธานคณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา

ชื่อโครงการ โครงการ ค่ายครอบครัวไทยห่างไกลยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-15 เลขที่ข้อตกลง 36/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ค่ายครอบครัวไทยห่างไกลยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ค่ายครอบครัวไทยห่างไกลยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ค่ายครอบครัวไทยห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด นับได้ว่ามีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น และเป็นปัญหาระดับชาติ เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่ให้ภาครัฐภาคเอกชน และประชาชนร่วมกันแก้ไข โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในเด็กและเยาวชน ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญที่ต้องมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเนื่องจากมีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้ง่าย เนื่องจากเด็กและเยาวชนเป็นวัยที่การดำเนินชีวิตอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ใฝ่หาความรู้ อยากลองอยากเห็น รักพวกพ้อง รักเพื่อน เชื่อเพื่อน และมองหา แบบอย่างเพื่อดำเนินรอยตามทัศนคติที่ผิดๆเกี่ยวกับการใช้สารเสพติด
ครอบครัวถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีอิทธิพลหรือส่งผลให้สมาชิกในครอบครัวเข้าสู่วงจรของปัญหายาเสพติด โดยจากการศึกษาเยาวชนในสถานพินิจที่กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเปรียบเทียบกับเยาวชนในสถานศึกษาทั่วไป พบว่า พลังครอบครัวของเยาวชนในสถานพินิจ มีความแตกต่างกับครอบครัวของเยาวชนทั่วไปในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการส่งเสริมสนับสนุนและช่วยเหลือด้านการเรียน การได้รับคำปรึกษาหารือหรือคำแนะนำจากผู้ปกครอง การมีระเบียบกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนของครอบครัว การได้รับความรักและการสนับสนุนที่ดีจากครอบครัว จึงเห็นได้ว่า เยาวชนที่ประสบกับปัญหายาเสพติด ส่วนหนึ่งมาจากการขาดพลังของครอบครัวที่จะคอยดูแลสมาชิกภายในครอบครัวให้ห่างไกลยาเสพติด ดังนั้น การสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้ลูกหลานหรือสมาชิกภายในครอบครัวสามารถพ้นภัยจากยาเสพติดได้ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการค่ายครอบครัวไทยห่างไกลยาเสพติดขึ้น เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของครอบครัว ความรัก การเอาใจใส่ที่ดี จะช่วยให้สมาชิกในครอบครัวไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของครอบครัว ความรัก การเอาใจใส่ที่ดีที่จะช่วยให้สมาชิกในครอบครัวไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. 1.2 เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักถึงปัญหายาเสพติด
  3. 1.3 เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการดูแลสมาชิกในครอบครัวและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องสถานการณ์ปัญหายาเสพ ติดในปัจจุบัน/ปัญหาและโทษของสารเสพติด/กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับยาเสพติด/แนวทางแก้ไขปัญหายาเสพติด/ การสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ/ทักษะในการปฏิเสธและ การสังเกตเมื่อคนใน
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  3. ค่าอาหารกลางวัน
  4. ค่าตอบแทน
  5. ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ จำนวน 1 ผืน
  6. ค่าเอกสาร วัสดุ/อุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
  7. ค่าเช่าเครื่องเสียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

9.1 สมาชิกในครอบครัวได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของครอบครัว ความรัก การเอาใจใส่ที่ดีที่จะช่วยให้สมาชิกในครอบครัวไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด 9.2 ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงปัญหายาเสพติด 9.3 ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัว ทั้งปัญหาสุขภาวะทางด้านร่างกายและสุขภาวะทางจิตใจ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ระยะเวลา / สถานที่ ดำเนินการ วันที่ 19-20 สิงหาคม 2566 ณ สถานที่ฟื้นฟูสมรรถภาพมูลนิธิพระครูประดิษฐวรการ ตำบล เกาะขันธ์ อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช และล่องแก่งนายพล รีสอร์ท ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง 2.กลุ่มเป้าหมาย
    -กลุ่มครอบครัวทั่วไปในชุมชน + ครอบครัวกลุ่มเสี่ยง เขต 1 และ เขต 4 จำนวน 45 ครอบครัว รวมจำนวน 90 คน -ที่ปรึกษาและคณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา เขต 1 และเ เขต 4 จำนวน 20 คน -ผู้ดำเนินงาน จำนวน 10 คน ได้กแ่ เจ้าหน้าที่ที่ดำเนินโครงการ จำนวน 5 คน และวิทยากร จำนวน 5 คน สรุปกิจกรรม -สำรวจสภาพปัญหาของครอบครัวในเขตเทศบาลนครสงขลา -วางแผนการทำงานและเสนอโครงการต่อกองทุนฯ -ประชุมฃชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่คณะทำงานศุนย์พัฒนาครอบครัว -ประสานวิทยากร กลุ่มเป้าหมาย สถานที่ และจัดเตรียม จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับการดำเนินงาน

- ดำเนินการอบรมให้ความรู้
เรื่องสถานการณืปัญหายาเสพติดในปัจจุบัน ปัญหาและโทษของยาเสพติด กฎหมายที่เกี่ยวข้อวกับยาเสพติด แนวทางแก้ไขปัญหาบาเสพติด การสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ ทักษะในการปฏิเสธและการสังเกตเมื่อคนในครอบครัวติดยาเสพติด กิจกรรมกลุ่มเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว กิจกรรมศึกษาดูงานด้านการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด ณ สถานฟื้นฟูสมรรถภาพมูลนิธิพระครูประดิษฐวรการ ตำบลเกาะขันธ์ อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช กิจกรรม Walk rally เป็นกิจกรรมที่ทำให้ครอบครัว มีความสามัคคี ได้ร่วมกันคิดวางแผนและหาแนวทางในการแก้ปัญหา -ประเมินและติดตามผล -สรุปและจัดทำรายงานผลส่งกองทุนฯ ผลที่ได้รับ -สมาชิกในครอบครัวได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของครองครัว ความรัก การเอาใจใส่ที่ดี ที่จะช้วยให้สมาชิก ในครอบครัวไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด -สมาชิกในครอบครัวตระหนักถึงปัญหายาเสพติด -สมาชิกในครอบครัวได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัว ทั้งปัญหาสุขภาวะทางด้านร่างกายและสุขภาวะทางจิตใจ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1 เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของครอบครัว ความรัก การเอาใจใส่ที่ดีที่จะช่วยให้สมาชิกในครอบครัวไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2.1 สมาชิกในครอบครัวนำทักษะและความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในครอบครัว เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับครอบครัว เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

สมาชิกในครอบครัวนำทักษะและความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในครอบครัว เพื่อสร้างภูมิคุิคุ้มกันที่ดี ให้กับครอบครัว เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80

2 1.2 เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักถึงปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2.2 สมาขิกในครอบครัวสามารถวิเคราะห์ปัญหาภายในครอบครัวที่มีผลต่อสุขภาวะของคนในครอบครัวได้ ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ร้อยละ 80
80.00 80.00

สมาชิกในครอบครัวสามารถวิเคราะห์ ปัญหาภายในครอบครัว ที่มีผลต่อสุขภาวะของคนในครอบครัวได้ ทั้งสุขภาพกายและุสุขภาพจิต

3 1.3 เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการดูแลสมาชิกในครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.3 ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการดูแลสมาชิก ส่งผลให้ครอบครัวและชุมชนมีความเข้มแข็ง เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

ครอบครัวในชุมชน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ ในการดูแลสมาชิก ส่งผลให้ครอบครัวและชุมชนมีความเข้มแข็ง เพิ่มขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1  เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของครอบครัว ความรัก การเอาใจใส่ที่ดีที่จะช่วยให้สมาชิกในครอบครัวไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด (2) 1.2  เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักถึงปัญหายาเสพติด (3) 1.3  เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการดูแลสมาชิกในครอบครัวและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1  กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องสถานการณ์ปัญหายาเสพ        ติดในปัจจุบัน/ปัญหาและโทษของสารเสพติด/กฎหมายที่        เกี่ยวข้องกับยาเสพติด/แนวทางแก้ไขปัญหายาเสพติด/                  การสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ/ทักษะในการปฏิเสธและ        การสังเกตเมื่อคนใน (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ค่าอาหารกลางวัน (4) ค่าตอบแทน (5) ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ จำนวน 1 ผืน (6) ค่าเอกสาร วัสดุ/อุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ (7) ค่าเช่าเครื่องเสียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ค่ายครอบครัวไทยห่างไกลยาเสพติด จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเสนาะ กลิ่นบุบผา ประธานคณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด