กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว


“ โครงการจัดตั้้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station ”

ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุดา ขำนุรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station

ที่อยู่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการเสียชีวิต 2 ใน 3 ของประชากรไทย ส่งผลต่อ ทั้งด้านเรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ อีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษ ที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่ การจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึง และประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจัดการตนเอง ระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด - 19 กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการ คัดกรองและติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีสมุดบันทึกข้อมูลสุขภาพออนไลน์ด้วย Application บนมือถือของประชาชน และเชื่อมต่อข้อมูลกับสถานพยาบาล โดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานนีดิจิทัล (Diqital Health Station) ซึ่งหมายถึง สถานที่สำหรับให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมีความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนเอง และ เป็นช่องทางในการสื่อสารความเสี่ยงสุขภาพผ่าน Platform Diqital
โดยมีความคาดหวังว่าจะช่วยลดอัตราการป่วย และการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อลงได้ จึงเขียนโครงการจัดตั้งสถานนีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Stationขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพิ่มขึ้น
  2. 2.ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัลสุขภาพดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ชุมชนแต่งตั้งคณะทำงาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่รับผิดชอบ (รพ.สต. เทศบาล) อสม. ผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน
  2. 2.ประชุมคณะทำงานและร่วมจัดหาสถานที่ เครื่องมือและมีอุปกรณ์พื้นฐาน เช่น เครื่องวัดความดัน เครื่องชั่งน้ำหนัก สายวัดรอบเอว ป้ายแสดงการแปลผลค่าความดันโลหิต ค่าน้ำหนักที่ควรเป็น สมุกบันทึกการใช้บริการ และคำแนะนำที่ประชาชนเข้าใจง่าย
  3. 3.พัฒนาศักยภาพ อสม. และประชาชน ให้สามารถใช้อุปกรณ์การตรวจคัดกรองและใช้ Application ได้ถูกต้อง เพื่อเสริมสร้างควาามรอบรู้ด้านสุขภาพลดการป่วยจาดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,995
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในหมู๋บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพิ่มขึ้น 2.ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล สุขภาพดีขึ้น 3.อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น มากกว่าร้อยละ 50
50.00 52.00

 

2 2.ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัลสุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3995
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,995
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพิ่มขึ้น (2) 2.ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัลสุขภาพดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ชุมชนแต่งตั้งคณะทำงาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่รับผิดชอบ (รพ.สต. เทศบาล) อสม. ผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน (2) 2.ประชุมคณะทำงานและร่วมจัดหาสถานที่ เครื่องมือและมีอุปกรณ์พื้นฐาน เช่น เครื่องวัดความดัน เครื่องชั่งน้ำหนัก สายวัดรอบเอว ป้ายแสดงการแปลผลค่าความดันโลหิต ค่าน้ำหนักที่ควรเป็น สมุกบันทึกการใช้บริการ และคำแนะนำที่ประชาชนเข้าใจง่าย (3) 3.พัฒนาศักยภาพ อสม. และประชาชน ให้สามารถใช้อุปกรณ์การตรวจคัดกรองและใช้ Application ได้ถูกต้อง เพื่อเสริมสร้างควาามรอบรู้ด้านสุขภาพลดการป่วยจาดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุดา ขำนุรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด