กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ต.ถลุงเหล็ก ”
ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์



หัวหน้าโครงการ
นางสาวธัณย์สิตา โกศรีรุ่งโรจน์




ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ต.ถลุงเหล็ก

ที่อยู่ ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ต.ถลุงเหล็ก จังหวัดบุรีรัมย์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ถลุงเหล็ก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ต.ถลุงเหล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ต.ถลุงเหล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ถลุงเหล็ก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
  2. เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำสุขภาพออกกำลังกาย ด้วยผ้าขาวม้า
  2. ชุมชนร่วมพลังออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า
  3. ตรวจสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 22
กลุ่มผู้สูงอายุ 74
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดแกนนำ อสม. หรือ แกนนำต้นแบบสุขภาพ สามารถนำออกกำลังกายโดยใช้ผ้าขาวม้าได้ หมู่บ้านบ้านละ 2 คน รวม 22 คน
  2. เกิดการร่วมกลุ่มของผู้สูงอายุและผู้ที่ภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพร่วมทำกิจกรรมออกกำลังโดยการใช้ผ้าขาวม้าในชุมชน
  3. กลุ่มผู้สูงวัย ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพที่ดีขึ้น และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมแกนนำสุขภาพออกกำลังกาย ด้วยผ้าขาวม้า

วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิทยากรบรรยายให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายที่เหมาะสมวัย
  2. วิทยาสาธิตท่าการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ให้กับแกนนำสุขภาพ จากหมู่บ้านๆ ละ 2 คน รวม 22 คน
  3. ทดลองปฏิบัติและฝึกซ้อมท่าออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า
  4. วางแผนการทำกิจกรรมออกกำลังกายแต่ละหมู่บ้าน สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีแกนนำสุขภาพตัวแทนแต่ละหมู่บ้านๆ ละ 2 คน มาร่วมอบรมและสามารถที่จะเป็นแกนนำในการพาออกกำลังในชุมชนได้
  2. แกนนำสุขภาพการออกกำลังกายสามารถร่วมกลุ่มผู้สูงอายุ ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ มาร่วมทำกิจกรรมได้
  3. ได้แผนจัดการสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงสุขภาพ

 

52 0

2. ชุมชนร่วมพลังออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. แต่ละหมู่บ้านนัดร่วมพลผู้สูงอายุ ประชาชนทั่วไปที่สนใจออกกำลังกาย ร่วมทำกิจกรรมออกกำลังกายโดยการใช้ผ้าขาวม้าประกอบ
  2. รูปแบบการทำกิจกรรม ตามแต่ความพร้อมของหมู่บ้าน รูปแบบที่ 1 สปัดาห์ละ 3 วัน ช่วงเย็นเวลา 17.00 น. ของวันจันทร์ พุธ ศุกร์ รูปแบบที่ 2 สัปดาห์ละ 2 วัน ตอนเย็นวันเสาร์ อาทิตย์ รูปแบบที่ 3 สัปดาห์ละ 1 วัน ตอนเย็นวันอาทิตย์
  3. กำหนดระยะเวลาทำกิจกรรม 3 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้สูงอายุ ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง ประชาชนที่สนใจ เข้าร่วมทำกิจกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน จำนวนไม่น้อยกว่า 50 คน
  2. เกิดพื้นที่ทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน
  3. มีแกนนำทำกิจกรรมแต่ละครั้งที่จะแกนนำทำกิจกรรมต่อเนื่อง

 

352 0

3. ตรวจสุขภาพ

วันที่ 12 สิงหาคม 2566 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. รพ.สต. อสม. ร่วมกันออกตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ และประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง วัดค่าความดัน และรอบเอว
  2. ให้ความรู้การดูแลสุขภาพกับผู้สูงอายุ และประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง
  3. วางแผนการตรวจสุขภาพครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดแกนนำผู้สูอายุที่มีการดูแลสุขภาพที่ดีและเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพที่ชัดเจนเป็นต้นแบบ
  2. ผู้สูงอายุและประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงได้รับความรู้การดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสมวัย
  3. ได้แผนการดูแลสุขภาพของชุมชน

 

320 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
79.59 85.00

 

2 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
60.80 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 146
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 22
กลุ่มผู้สูงอายุ 74
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ (2) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำสุขภาพออกกำลังกาย ด้วยผ้าขาวม้า (2) ชุมชนร่วมพลังออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า (3) ตรวจสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสูงวัยใส่ใจสุขภาพ ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า ต.ถลุงเหล็ก จังหวัด บุรีรัมย์

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธัณย์สิตา โกศรีรุ่งโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด