กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์ดี มีคุณภาพ รพ.สต.โคกโพธิ์(เขตอบต.โคกโพธิ์)ปี2566
รหัสโครงการ L2975
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
วันที่อนุมัติ 15 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเสาวลี จันทร์งาม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.732,101.061place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นหนึ่งในบริการอนามัยแม่และเด็ก เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ จนกระทั่งคลอด องค์การอนามัยโลกและกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และได้รับการฝากครรภ์คุณภาพอย่างน้อย 5 ครั้งตามเกณฑ์ จากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อลดปัญหาภาวะแทรกซ้อนและอัตราการตายของมารดาและทารก การฝากครรภ์ช้ามีผลต่อสุขภาพแม่และเด็ก เนื่องจากการที่หญิงตั้งครรภ์ได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงและการดูแลตามมาตรฐานการฝากครรภ์ช้า จะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆนอกจากนี้ในภาวะการตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์จะเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความไม่สุขสบายและมีความวิตกกังวลได้ ในปีงบประมาณ2565 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกโพธิ์ มีหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ 11 ราย ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ เพียง 5 ราย(ร้อยละ 45.45)ซึ่งเกณฑ์ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์คือร้อยละ70และเป็นการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหลายด้าน ได้แก่มารดามีเบาหวานขณะตั้งครรภ์1ราย(ร้อยละ9.00) ตั้งครรภ์อายุมากกว่า35ปี 3ราย(ร้อยละ27.00)ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า18ปี4ราย(ร้อยละ36.00)อายุต่ำสุดคือ13ปีมี1ราย ต้องออกจากระบบการศึกษามาศึกษาต่อนอกระบบ ซึ่งมารดาที่ตั้งครรภ์ในช่วงวัยรุ่นยังขาดความรู้และประสบการณ์ในการดุแลตนเองขณะตั้งครรภ์ เป็นกลุ่งเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการทางสมอง และระบบประสาทของเด็ก ส่งผลให้เด็กมีปัญหาด้านพัฒนาการ สติปัญญาพฤติกรรมและอารมณ์ตามมา รวมถึงกระทบต่อปัญหาสุขภาพร่างกาย จิตใจและสังคม ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอด 2.หญิงตั้งครรภ์วัยเจริญพันธ์มาฝากครรภ์ก่อน12สัปดาห์และการฝากครรภ์ครบ5ครั้งตามเกณฑ์มากขึ้น

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและต่อเนื่องเป็นประจำต่อเนื่อง 2.พบผู้ป่วยรายใหม่ของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ 3.ครอบครัว ชุมชน และสังคม มีความตระหนักในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2566 14:21 น.