กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการห่วงใยห่างไกลป้องกันยาเสพติด ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางมณฑา แซ่เล่า ตำแหน่ง อสม.ชุมชนมิตรเมืองลุง

ชื่อโครงการ โครงการห่วงใยห่างไกลป้องกันยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-27 เลขที่ข้อตกลง 48/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่วงใยห่างไกลป้องกันยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใยห่างไกลป้องกันยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่วงใยห่างไกลป้องกันยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ มีการแพร่ระบาดอย่างรุนแรง จากการสำรวจพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ติดและผู้เสพยาเสพติดมากขึ้น จากเดิม ที่ผู้เสพส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงของวัยรุ่นและวัยทำงาน แต่ปัจจุบันพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของผู้เสพที่อยู่ในวัยนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จึงเห็นได้ว่าปัญหายาเสพติดได้มีการแพร่ระบาด เป็นวงกว้างมากยิ่งขึ้น และหนักขึ้นเป็นทวีคูณ มีจำนวนผู้เสี่ยงที่มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นภารกิจที่ทุกภาคส่วนต้องดำเนินการร่วมกัน
เพื่อเป็นการลดและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ จึงจำเป็นจะต้องมี โครงการและมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ลดเบาบางจนหมดสิ้นไป ในการนี้ ทางทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ทั้ง 6 ชุมชน เห็นความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการห่วงใยห่างไกลป้องกันยาเสพติด เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ให้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดและให้ความสำคัญในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อีกทั้งเป็นการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาเยาวชนในพื้นที่ให้เป็นทรัพยากร ที่ทรงคุณค่าของประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  2. 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้บำเพ็ญประโยชน์ เสริมความรู้ห่างไกลยาเสพติด
  2. ค่าตอบแทนวิทยากรหลัก
  3. ค่าตอบแทนวิทยากรรอง
  4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  5. ค่าอาหารกลางวัน
  6. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ
  7. ค่าวัสดุ (กระดาษ ปากกาเคมี ดินสอ กระดาษทำกลุ่ม)
  8. ค่าจัดทำเอกสาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • กลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชน และแกนนำมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
  • มีทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหายาเสพติดของตนเองได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ประชุมชี้แจงแกนนำ อสม. ทั้ง 6 ชุมชน เพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ วันที่ 3 พค.66 ณ ที่ทำการชุมชน 2.อสม. สำรวจกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง ในชุมชน ส่งรายชื่อใให้เจ้าหน้าที่ 3.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้บำเ็ยประโยชน์ เสริมความรู้ ห่างไกล ยาเสพติด 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 15 กค.66 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโทษของยาเสพติด และปัฐหาวัยรุ่น กับยาเสพติด ครั้งที่ 2 วันที่ 19 สิงกาคม 2566 กิจกรรมกลุ่มสันทนาการ และทำกลุ่มโทษของยาเสพติด ประโยชน์ของยา ทักษะชีวิตเพื่อป้องกันยาเสพติด ครั้งที่ 3 วันที่ 9 กันยายน 2566 กิจกรรมกลุ่มและ เยาวชนพอเพียงกับการแก้ปัญหายาเสพติด ประเมินผลสรุปโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมมีความรู้เกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
80.00 90.00

จากแบบประเมิน ก่อน-หลัง การอบรม

2 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (2) 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้บำเพ็ญประโยชน์ เสริมความรู้ห่างไกลยาเสพติด (2) ค่าตอบแทนวิทยากรหลัก (3) ค่าตอบแทนวิทยากรรอง (4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (5) ค่าอาหารกลางวัน (6) ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ (7) ค่าวัสดุ (กระดาษ ปากกาเคมี ดินสอ กระดาษทำกลุ่ม) (8) ค่าจัดทำเอกสาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการห่วงใยห่างไกลป้องกันยาเสพติด จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมณฑา แซ่เล่า ตำแหน่ง อสม.ชุมชนมิตรเมืองลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด