กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรองสุขภาพจิตประชาชนวัยทำงาน ปี 2566 ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางเพียงดาว รอดความทุกข์




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองสุขภาพจิตประชาชนวัยทำงาน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 13/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองสุขภาพจิตประชาชนวัยทำงาน ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองสุขภาพจิตประชาชนวัยทำงาน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองสุขภาพจิตประชาชนวัยทำงาน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในประชากรทั่วโลก โดยพบว่าโรคจิตเภท (Schizophrenia) เป็นโรคที่พบได้มากที่สุด จำนวน 26 ล้านคน และโรคจิตเภท ก็เป็นโรคจิตทางจิตเวชที่พบมากที่สุดในประเทศไทย แต่มีเพียงครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยที่่สามารถเข้าถึงบริการรักษาพยาบาล ในประเทศกำลังพัฒนาทั่วโลก มีผู้ป่วยเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น ที่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้ และผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาทั่วโลก 1 ใน 3 มีประวัติการกลับเข้ารักษาซ้ำ และมีอาการรุนแรงตลอดชีวิต ที่เหลือ 2 ใน 3 จะมีอาการเรื้อรังตลอดชีวิต ผลกระทบของโรคจิตเภทเกิดขึ้นต่อบุคคลครอบครัวและชุมชน ส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของผู้ป่วย ก่อให้เกิดภาวะโรคเรื้อรังและความพิการมีความพร่องในการปฏิบัติหน้าที่ประจำวัน บกพร่องในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และทักษะการเข้าสังคม ส่งผลต่อครอบครัวที่ต้องแบกรับภาระในการดูแลผู้ป่วยเป็นเวลานาน เป็นตราบาป (Stigma) ครอบครัวถูกตีตรา ญาติรู้สึกอับอายที่มีผู้ป่วยจิตเภทอยู่ในครอบครัว ชุมชนได้รับผลกระทบหรือความเสียหาย เดือนร้อนรำคาญ ชุมชนรู้สึกรังเกียจและกลัว รู้สึกไม่ปลอดภัย อีกทั่งยังมีทัศนคติไม่ถูกต้องต่อผู้ป่วยกลายเป็นความรังเกียจ ปิดกั้นโอกาสในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม ซึ่งทัศนคติสังคมต่อผู้ป่วยทางจิตได้แบ่งประเภทของบุคคลออกจากกลุ่มคนปกติโดยชัดเจน ส่งผลให้ผู้ป่วยจิตเภทกลายเป็นคนส่วนน้อยของสังคม ถูกละเมิดสิทธิและสถานภาพของพวกเขาไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมกลายเป็นส่วนเกินของสังคม ส่งผลให้ผู้ป่วยถูกโดดเดี่ยวไม่ได้รับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิต รวมทั้งการปรับตัวเข้ากับสังคม ในสังคมปัจจุบันนี้ทุกชีวิตต้องเผชิญปัญหามากมาย แก้ปัญหานี้เสร็จก็มีปัญหาอื่นๆ เข้ามาให้ขบคิดมากมาย บางคนก็ค่อยๆแก้ ค่อยๆคลาย แต่บางคนยิ่งแก้ปัญหาก็ยิ่งพันตัว ดูวุ่นวายไปหมด และก็มีอีกหลายชีวิตที่ใช้วิธีแก้ปัญหาโดยการหันหลังให้กับความจริงและท้ายที่สุดก็ย้ายตัวเองไปอยู่บ้านใหม่ที่ตัวเองไม่รู้จักและไม่รู้จักใครอีกเลย มีหลายชีวิตที่แก้ปัญหาหนักไปอีกคือทำร้ายตัวเอง ตั้งแต่เสพยาเสพติดจนถึงการทำร้ายชีวิตตน ในโลกนี้ไม่มีใครที่ไม่มีปัญหาเพียงแต่ว่า เมื่อเกิดปัญหาแล้วตัวเรามีพลังใจ มีแรงกายที่จะคิดแก้ไขหรือไม่ ถ้ามีพลังที่จะแก้ไขปัญหาเราก็จะชนะการชนะปัญหาใดๆ ได้เราต้องเป็นผู้มีสุขภาพจิตดี ยอมรับความจริง รู้และเท่าทันโลกของการเปลี่ยนแปลง ทุกวันนี้มีคนไข้โรคประสาท โรคจิตเดินเข้าออกในโรงพยาบาลมากขึ้น ยิ่งสังคมเสื่อมเท่าไร มโนธรรมต่ำลงเท่าไร ความยับยั้งชั่งใจของคนก็ตกต่ำลงเท่านั้นปัญหาต่างๆ ก็จะเข้ามารุมเร้ามีแนวทางหนึ่งที่จะประคองให้บุคคลพ้นจากความวิกฤติต่อปัญหาต่างๆลงบ้าง ได้แก่ การรักษาสุขภาพจิตให้ดี รักษาร่างกายให้แข็งแรง มองโลกตามจริงแก้ไขปัญหาที่ละขั้น เชื่อว่าปัญหาจะทุเลาลงได้ แต่ใช่ว่าปัญหาจะหมดไป แก้ปัญหานี้แล้วอาจมีปัญหาอื่นเข้ามาเราก็ค่อยๆแก้ ยิ่งเราโตขึ้นวุฒิภาวะเรามีมากขึ้นแนวทางหรือช่องทางในการแก้ไขปัญหาก็จะมีหลายวิธีขึ้นอย่างไรก็ดีจงสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เป็นเสมือนภูมิคุ้มกัน เมื่อนั้นทุกอย่างจะออกมาดี ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลเขาไพร ได้เล็งเห็นความสำคัญของการคัดกรองสุขภาพจิต จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองสุขภาพจิตประชาชนวัยทำงานปี 2566 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง และบุคคลในครอบครัวที่มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิต ให้มีสุขภาพจิตที่ดีและดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีให้กับประชาชนวัยทำงาน
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขกับการทำงาน
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีเทคนิคการผ่อนคลายความเครียด
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการแนะนำวิธีคลายความเครียดให้กับบุคคลอื่นได้
  5. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการแนะนำวิธีคลายความเครียดให้กับบุคคลอื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนวัยทำงานมีสุขภาพจิตที่ดี
    2. ประชาชนวัยทำงานสามารถนำเทคนิคต่างๆไปใช้ในการสร้างสุขในการทำงานได้
    3. ประชาชนวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง และคนในครอบครัวได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีให้กับประชาชนวัยทำงาน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขกับการทำงาน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีเทคนิคการผ่อนคลายความเครียด
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการแนะนำวิธีคลายความเครียดให้กับบุคคลอื่นได้
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการแนะนำวิธีคลายความเครียดให้กับบุคคลอื่นได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีให้กับประชาชนวัยทำงาน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขกับการทำงาน (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีเทคนิคการผ่อนคลายความเครียด (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการแนะนำวิธีคลายความเครียดให้กับบุคคลอื่นได้ (5) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการแนะนำวิธีคลายความเครียดให้กับบุคคลอื่นได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองสุขภาพจิตประชาชนวัยทำงาน ปี 2566 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเพียงดาว รอดความทุกข์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด