กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์


“ โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงและทารกหลังคลอด หญิงวัยเจริญพันธ์ และเด็ก 0- 6 ปี ในชุมชนตำบลลำสินธุ์ ”

ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอรัญญา อุตะปะละ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงและทารกหลังคลอด หญิงวัยเจริญพันธ์ และเด็ก 0- 6 ปี ในชุมชนตำบลลำสินธุ์

ที่อยู่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 10 เลขที่ข้อตกลง L3364.02.09

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงและทารกหลังคลอด หญิงวัยเจริญพันธ์ และเด็ก 0- 6 ปี ในชุมชนตำบลลำสินธุ์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงและทารกหลังคลอด หญิงวัยเจริญพันธ์ และเด็ก 0- 6 ปี ในชุมชนตำบลลำสินธุ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงและทารกหลังคลอด หญิงวัยเจริญพันธ์ และเด็ก 0- 6 ปี ในชุมชนตำบลลำสินธุ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กคือทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติที่ควรได้รับการเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการสมวัย ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ปัจจุบัน พัฒนาการของเด็กไทย โดยเฉพาะความสามารถทางสติปัญญา (IQ) มีแนวโน้มลดลง ปัจจัยที่ส่งผลต่อสติปัญญาของเด็ก ได้แก่ ภาวะทุพโภชนาการ เช่น การขาดธาตุไอโอดีน โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภ์ การขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม และการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนาสุขภาพของเด็กปฐมวัยยังต้องเร่งรัดกุลยุทธ์ กลวิธีอีกหลายประการ รวมทั้ง การกระตุ้นพัฒนาการของเด็กแรกเกิดถึง ๓ ปี ซึ่งเซลล์สมองเจริญเติบโตร้อยละ ๘๐ เป็น "หน้าต่างแห่งโอกาส" ของการกระตุ้นและฝึกทักษะให้ได้รับการกระตุ้นทางการสัมผัสทั้ง ๕ ได้แก่ ตา จมูก ลิ้น กาย ให้ได้ยิน ได้เห็น ได้กลิ่น ได้รส และได้สัมผัส ทั้งแรกเกิดด้วยความรักจากแม่จะช่วยให้ประสานสายใยประสาทของเซลล์สมองมากขึ้น ทำให้เด็กฉลาด เรียนรู้ได้เร็ว มีชีวิตชีวา รู้เหตุผลและมีการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ อาหารที่สำคัญที่สุดของเด็ก คือ "นมแม่" เด็กที่ดื่มนมแม่จะมีค่าเฉลี่ยระดับเชาว์ปัญญา (IQ) เหนือกว่าเด็กที่ไม่ได้กินมแม่ ๓-๑๐ จุด เมื่อแม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การโอบกอด สัมผัส อุ้มลูกไว้ในอ้อมอก เสียงพูดคุย หยอกล้อ เด็กจะได้รับประสาทสัมผัสทุกด้าน ส่งผลให้พัฒนาการเด็กสมวัยและฉลาดมากขึ้น องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แนะนำให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน และให้เลี้ยงควบคู่กับอาหารตามวัยจนลูกครบ ๒ ปีหรือมากกว่านั้น ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีจำนวนลดลงอย่างมาก สาเหตุสำคัญของปัญหาส่วนใหญ่ เนื่องจากความไม่ต่อเนื่องในการสนับสนุนการส่งเสริมกิจกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างจริงจัง ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่บุคลากรทุกระดับที่เกี่ยวข้องจะต้องมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างจริงจังและต่อเนื่อง รวมถึงส่งเสริมพัฒนาการให้สมวัย ชมรม อสม.ตำบลบ้านลำสินธุ์ สาขานมแม่และอนามัยแม่และเด็ก)ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงและทารกหลังคลอด หญิงวัยเจริญพันธ์ และเด็ก 0- 6 ปี ในชุมชนตำบลลำสินธุ์เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเตรียมตัวก่อนคลอด และการส่งเสริมพัฒนาการ เพื่อให้เด็กเติบโตเป็นเด็กแข็งแรง ฉลาด อารมณ์ดี จิตใจดี และมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
  3. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เยี่ยมติดตามหญิงหลังคลอด
  2. อบรมให้ความรู้แกนนำในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม.แกนนำ มีความรู้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ปกติ หญิงตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัว และการเยี่ยมมารดาหลังคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2.มีการวางแผนครอบครัวในหญิงที่อยู่กินกับสามี ลดภาวการณ์ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี 3.การตั้งครรภ์ในวัยที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการเกิดความเสี่ยง 4. หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
82.00 92.00

 

2 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
66.66 90.00

 

3 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
10.34 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (3) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เยี่ยมติดตามหญิงหลังคลอด (2) อบรมให้ความรู้แกนนำในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงและทารกหลังคลอด หญิงวัยเจริญพันธ์ และเด็ก 0- 6 ปี ในชุมชนตำบลลำสินธุ์ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรัญญา อุตะปะละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด