กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออกตำบลดอน
รหัสโครงการ 010/2560
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอน
วันที่อนุมัติ 1 ธันวาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 25,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุปราณีวานิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.786,101.482place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่ปัญหาสาธารณสุขมานาน โดยมียุงลายเป็นพาหนำโรค จากคนหนึ่งสู่อีกคนหนึ่ง สามารถติดต่อกันได้ง่าย หากสิ่งแวดล้อมเอื้อ คือการที่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และขาดการป้องกันไม่ให้ยุงกัด ที่สำคัญ มีแนวโน้มทวีความรุนแรงของการระบาดเพิ่มขึ้น และต่อเนื่อง ระดับประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2544 มีการระบาดครั้งใหญ่มีจานวนผู้ป่วย 130,000 ราย เสียชีวิต 238 รายมีการระบาดต่อเนื่องถึงปี พ.ศ.2545 ซึ่งมีจานวนผู้ป่วย 108,905 ราย เสียชีวิต 172 ราย ส่วนใหญ่จะพบในกลุ่มเด็กอายุระหว่าง 5-14 ปี ซึ่งเป็นเด็กช่วงวัยอนุบาลและประถมศึกษา นอกจากนั้นในกลุ่มอายุอื่นๆทั้งวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ดังนั้นการดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จะต้องมีการร่วมมือกันในทุกๆองค์กร คือ ทั้งบ้าน ชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน และหน่วยงานต่างๆ และจะต้องมุ่งแก้ไข้ที่ต้นเหตุของการแพร่กระจายโรค คือ ยุงลายซึ่งเป็นพาหะนาเชื้อไวรัสไข้เลือดออก กลวิธีที่สำคัญคือการกาจัดยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย คือการร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งบ้าน โรงเรียน ชุมชน ศาสนสถาน หน่วยงาน ทั้งภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน และประชาชน และเน้นการติดตามกากับประเมินผล เพื่อป้องกันทั้งให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด ทั้งนี้ต้องเป็นปฏิบัติโดยสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของตำบลดอน ในรอบ 1 ปีคือ ปี 2559 ซึ่งมีรายงานผู้ป่วย คิดเป็นอัตราป่วย 48.28 ต่อประชากรแสนคนคิดเป็นจำนวน 6 คนตามลำดับไม่พบผู้เสียชีวิตซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากประชาชนขาดความรู้ไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรค รวมทั้งเรื่องของสภาพแวดล้อมของตำบลดอนเองที่เอื้อต่อการเกิดโรค เนื่องจาก บางพื้นที่มีบ้านเรือนตั้งอยู่อย่างหนาแน่นมีการเลี้ยงสัตว์ที่เอื้อต่อการเกิดโรคเช่นเลี้ยงนกเขาเป็ดไก่ ที่จำเป็นต้องใส่น้ำในภาชนะแต่ขาดการดูแลและในบางพื้นที่มีต้นไม้ป่าไม้มากทำให้ยากต่อการดูแลควบคุมความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายรวมไปถึงการไป-มาทำงานนอกถิ่นก็เป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้ได้รับเชื้อและป่วยเกิดมาทำให้เกิดการแพร่ระบาดในพื้นที่ของตำบลดอน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอน จึงได้จัดโครงการชุมชนร่วมใจพิชิตภัยไข้เลือดออกตำบลดอนขึ้น โดยเน้นที่การมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรชุมชน ให้เข้ามามีบทบาทร่วมกันดำเนินงานและคาดว่าจากการดำเนินการดังกล่าวสามารถลดปัญหาการเจ็บป่วยและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับประชาชนได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน 2. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน ศาสนสถาน สถานที่ราชการและโรงเรียน 3 เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ลดลงไม่เกณฑ์50 ต่อแสนประชากร
2.ค่า HI ในหมู่บ้านไม่ให้เกินร้อยละ 10 และค่า CI ในโรงเรียน วัดมัสยิด ศูนย์เด็กเล็ก และสถานที่ราชการ เท่ากับ และค่า BI ในชุมชนไม่เกิน 50
3. ร้อยละ 50 ขององค์กรชุมชน และส่วนราชการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมตามโครงการ ฯ

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

1.มีการประชุมประชาคมทุกหมู่บ้านในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกจัดอบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน 2.ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายและหอกระจายข่าวชุมชนพร้อมทั้งสื่อต่าง ๆ 3.อสม.สำรวจลูกน้ำยุงลายตามชุมชน วัด มัสยิด โรงเรียน และสถานที่ราชการ พร้อมทั้งแจกทรายอะเบท 4.ดำเนินการสอบสวน/ควบคุมโรคกรณีมีผู้ป่วย 5.ประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ และให้ความร่วมมือจนสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ธ.ค. 2559 14:35 น.