กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาส
รหัสโครงการ 66-L4127-1-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.บาเจาะ
วันที่อนุมัติ 14 ธันวาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 พฤษภาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 40,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสูรียา อาแว
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนาซีเราะ ปุโรง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 168 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 22 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

75.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

65.00
3 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง

85.00
4 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว(คน)

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง

85.00
5 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

85.00
6 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

75.00
7 ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ

จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น

85.00
8 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)

ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น

60.00
9 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง

85.00
10 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง

85.00
11 ร้อยละคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ

ร้อยละของคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟู

65.00
12 ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต

ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต

85.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากสภาพสังคมในปัจจุบันประเทศไทยกำลังมุ่งเข้าสู่สังคมแห่งผู้สูงวัย ทั้งนี้ ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสจำนวนมากขาดการดูแลเอาใจใส่ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังหรืออยู่กับเด็กในวัยเรียนและก่อน วัยเรียน โดยบุตรหลานวัยทำงานต้องดิ้นรนออกไปทางานนอกพื้นที่ เพราะสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันเกิดการชะลอตัวค่าครองชีพเครื่องอุปโภคบริโภคมีราคาสูง รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย ทำให้บุตรหลานไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุ บางรายปล่อยให้ผู้สูงอายุดำเนินชีวิตอยู่เพียงลำพังด้วยเงินเบี้ยยังชีพเท่านั้น ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสหลายรายในสังคมมีโรคประจำตัวหรือต้องเป็นผู้ติดเตียง ไม่มีโอกาสได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มหรือชมรมต่าง ๆ บางรายอาจเกิดความน้อยใจหรือหมดกำลังใจที่จะดำเนินชีวิตต่อไป ดังนั้น ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๖) พ.ศ.๒๕๔๖ มาตรา ๖๗ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังนี้ (๖) ส่งเสริมพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และคนพิการ องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสตำบลบาเจาะขึ้น เพื่อจัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดำเนินชีวิต และตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้กับผู้สูงอายุ เพื่อสร้างกำลังใจในการดำเนินชีวิตและยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อไป ประกอบกับองค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะ เป็นพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง ภายใต้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะ จึงขอความอนุเคราะห์สนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพฯ ในการจัดทำโครงการ เพื่อเป็นการติดตามอาการเยี่ยมเยือน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสที่ทุพพลภาพอย่างต่อเนื่อง ไม่ให้เกิดความโดดเดี่ยวและมีกำลังใจพร้อมที่จะต่อสู้และมีสุขภาพจิต กายที่ดีขึ้น และเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้สูงวัย ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสที่ทุพพลภาพในพื้นที่ตำบลบาเจาะต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

75.00 85.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

65.00 80.00
3 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน

ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง

85.00 90.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง

85.00 90.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

85.00 90.00
6 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

75.00 80.00
7 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น

85.00 90.00
8 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น

60.00 85.00
9 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง

85.00 90.00
10 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

85.00 90.00
11 เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ

ร้อยละของคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟู

65.00 80.00
12 เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต

ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต

85.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66
1 ขั้นตอนวางแผนงาน(10 เม.ย. 2566-15 พ.ค. 2566) 2,400.00    
2 ขั้นตอนการดำเนินงาน(15 พ.ค. 2566-28 พ.ค. 2566) 37,600.00    
รวม 40,000.00
1 ขั้นตอนวางแผนงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 2,400.00 0 0.00
10 เม.ย. 66 - 15 พ.ค. 66 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ/ให้ความรู้แก่ผู้นำ /กรรมการหมู่บ้าน/อสม./กลุ่มผู้ป่วยและญาติ 20 2,400.00 -
2 ขั้นตอนการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 37,600.00 0 0.00
15 - 29 พ.ค. 66 ดำเนินการลงเยี่ยม จัดทำตารางการเยี่ยม โดยเยี่ยมทั้งหมด 5 หมู่บ้าน บริการตรวจสุขภาพคัดกรองเบื้องต้นก่อนดำเนินการพร้อมสรุปผลการตรวจเยี่ยมทุกครั้งที่เยี่ยมเสร็จ 20 37,600.00 -
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน
    1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ/ให้ความรู้แก่ผู้นำ /กรรมการหมู่บ้าน/อสม./กลุ่มผู้ป่วยและญาติ
    2. สำรวจข้อมูลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสที่ทุพลภาพ ที่ไม่สามารถออกไปข้างนอกได้ ทั้ง 5 หมู่บ้าน จำ
    3. คณะกรรมการ สปสช.ตำบลบาเจาะ จัดให้มีการประชุมวางแผน เตรียมการตามโครงการ
    4. แต่งตั้งคณะทำงาน มอบหมายหน้าที่เพื่อดำเนินงานตามโครงการ
    5. ดำเนินการลงเยี่ยม จัดทำตารางการเยี่ยม โดยเยี่ยมทั้งหมด 5 หมู่บ้าน บริการตรวจสุขภาพคัดกรองเบื้องต้นก่อนดำเนินการพร้อมสรุปผลการตรวจเยี่ยมทุกครั้งที่เยี่ยมเสร็จ
    6. จัดกลุ่ม Self health group แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เดือนละ ๑ ครั้ง /เดือน
    7. ติดตามและประเมินผลการดำเนินการงานและสรุปผลการดำเนินงานภาพรวมเมื่อสิ้นปีงบประมาณ
    8. ขั้นตอนการดำเนินงาน
    9. สำรวจข้อมูลผู้ป่วยเรื้อรัง/ ผู้สูงอายุและผู้พิการเพิ่มเพื่อจัดตารางออกเยี่ยม
    10. จัดเตรียมชุดอาหารสาธิตฯ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเยี่ยม
    11. ออกเยี่ยมผู้ป่วยตามตารางหรือปรับตามความเหมาะสม
    12. ประเมินสภาวะสุขภาพจิตผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้สูงอายุและผู้พิการ ตามแบบประเมินสุขภาพจิต 2Q และ9Q
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยเรื้อรัง/ ผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่ด้อยโอกาส ได้รับการเยี่ยมบ้านและดูแล
  2. คุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตของผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ ที่ได้รับการเยี่ยมดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุและผู้พิการ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดำรงชีวิตอยู่ในชุมชนอย่างมีความสุข
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ