กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการส่งเสริมเด็กปฐมวัย เก่ง ดี มีสุข ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมฤดี สิทธิการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเด็กปฐมวัย เก่ง ดี มีสุข

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8429-01-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมเด็กปฐมวัย เก่ง ดี มีสุข จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมเด็กปฐมวัย เก่ง ดี มีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมเด็กปฐมวัย เก่ง ดี มีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8429-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มุ่งเน้นพัฒนาประชากรทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดีซึ่ง “คนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมทั้งกายใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย” จึงต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยให้เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่สมบูรณ์พร้อมทั้งทางด้านสติปัญญา (Intelligence Quotient : IQ) และความฉลาดทางด้านอารมณ์ (Emotional Quotient :EQ) หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งคือเป็นบุคคลที่มีความ“เก่ง ดี มีสุข”
ปัจจุบันประเทศไทยมีอาชญากรรมสะเทือนขวัญเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเกิดจากการที่บุคคลมีความฉลาดทางอารมณ์ต่ำ ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆได้ และไม่สามารถจัดการกับภาวะอารมณ์ของตนเองได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมที่ขาดสติ ดังนั้นการส่งเสริมความฉลาดทางด้านสติปัญญาและความฉลาดทางด้านอารมณ์ควรเริ่มตั้งแต่เด็กปฐมวัย (วัยแรกเกิด-5 ปี) เพราะเป็นช่วงชีวิตที่มีพัฒนาการทางสมองและการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว จึงมีความสำคัญอย่างมากในการพัฒนาให้เขาเจริญเติบโตเป็นคนรุ่นใหม่ที่มีสติปัญญาดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความฉลาดทางอารมณ์สูง สามารถรับรู้เข้าใจอารมณ์และควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสม มีสติ คิดพิจารณาและตัดสินใจได้ดี ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆได้ดี รวมทั้งสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข     จากการสำรวจระดับสติปัญญาและความฉลาดทางด้านอารมณ์ของเด็กไทยทั่วประเทศ ทุก 5 ปี ซึ่งเริ่มสำรวจในปี พ.ศ. 2554 ในกลุ่มเด็กอายุ 6-15 ปี จำนวน 72,780 คน พบว่าระดับสติปัญญาเฉลี่ย 98.6 ต่อมาปี พ.ศ.2559 สำรวจกลุ่มเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 23,641 คน พบว่า ระดับสติปัญญาเฉลี่ย 98.2 และปี พ.ศ.2564 สำรวจในกลุ่มเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่า ระดับสติปัญญาเฉลี่ย 102.8 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ปกติ (90-110) แต่ผลสำรวจระดับสติปัญญาเด็กไทยในเขตสุขภาพที่ 12 (ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล) ปี พ.ศ. 2559 และปี พศ.2564 ในกลุ่มเด็กประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 พบว่ามีระดับสติปัญญาเฉลี่ย 94.8 และ 97.4 ตามลำดับ ซึ่งยังต่ำกว่าระดับสติปัญญาเฉลี่ยมาตรฐานสากล (100) สำหรับการสำรวจความฉลาดทางด้านอารมณ์เด็กไทยปี พ.ศ.2559 และปี พ.ศ. 2564 พบมีความฉลาดทางด้านอารมณ์ อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป ร้อยละ 77.1 และ 83.4 ตามลำดับ     ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกระทรวงสาธารณสุขระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) ที่กำหนดให้เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 103 และมีความฉลาดทางด้านอารมณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลสิเกาจึงจัดทำโครงการ ส่งเสริมเด็กปฐมวัย เก่ง ดี มีสุข เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักแก่ผู้ปกครองในการดูแล ส่งเสริมเด็กปฐมวัย ให้มีความฉลาดทางด้านสติปัญญาและความฉลาดทางด้านอารมณ์ เจริญเติบโตเป็นเด็กรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3-5 ปี มีความรู้และสามารถส่งเสริมทักษะ เก่ง ดี มีสุข ให้แก่บุตรหลานได้
  2. เพื่อให้เด็กปฐมวัย 3-5 ปี มีทักษะ เก่ง ดี มีสุข อยู่ในระดับเกณฑ์ปกติขึ้นไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การส่งเสริมทักษะ เก่ง ดี มีสุข แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3-5 ปี และ คัดเลือกเด็กปฐมวัยมีทักษะ เก่ง ดี มีสุข ดีเด่น โดยใช้เกณฑ์แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์เด็กอายุ 3-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัย 3-5 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลสิเกามีทักษะการใช้ชีวิตที่ดี และสามารถจัดการกับภาวะอารมณ์รวมทั้งปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆในชีวิตประจำได้อย่างเหมาะสม
  2. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3-5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลสิเกาสามารถเลี้ยงดูและฝึกทักษะ เก่ง ดี มีสุขให้เหมาะสมตามความสามารถของเด็กแต่ละคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้การส่งเสริมทักษะ เก่ง ดี มีสุข แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3-5 ปี และ คัดเลือกเด็กปฐมวัยมีทักษะ เก่ง ดี มีสุข ดีเด่น โดยใช้เกณฑ์แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์เด็กอายุ 3-5 ปี

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การส่งเสริมทักษะ เก่ง ดี มีสุข แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3-5 ปี
กิจกรรมที่ 2 คัดเลือกเด็กปฐมวัยมีทักษะ เก่ง ดี มีสุข ดีเด่น โดยใช้เกณฑ์แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์เด็กอายุ 3-5 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กปฐมวัย 3-5 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลสิเกามีทักษะการใช้ชีวิตที่ดี และสามารถจัดการกับภาวะอารมณ์รวมทั้งปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆในชีวิตประจำได้อย่างเหมาะสม
  2. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3-5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลสิเกาสามารถเลี้ยงดูและฝึกทักษะ เก่ง ดี มีสุขให้เหมาะสมตามความสามารถของเด็กแต่ละคน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3-5 ปี มีความรู้และสามารถส่งเสริมทักษะ เก่ง ดี มีสุข ให้แก่บุตรหลานได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ความสามารถในการส่งเสริมทักษะ เก่ง ดี มีสุข
70.00

 

2 เพื่อให้เด็กปฐมวัย 3-5 ปี มีทักษะ เก่ง ดี มีสุข อยู่ในระดับเกณฑ์ปกติขึ้นไป
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย 0-5 ปี มีทักษะ เก่ง ดี มีสุข อยู่ในระดับเกณฑ์ปกติขึ้นไป
85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3-5 ปี มีความรู้และสามารถส่งเสริมทักษะ เก่ง ดี มีสุข ให้แก่บุตรหลานได้ (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัย 3-5 ปี มีทักษะ เก่ง ดี มีสุข อยู่ในระดับเกณฑ์ปกติขึ้นไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การส่งเสริมทักษะ เก่ง ดี มีสุข แก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 3-5 ปี และ คัดเลือกเด็กปฐมวัยมีทักษะ เก่ง ดี มีสุข ดีเด่น โดยใช้เกณฑ์แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์เด็กอายุ 3-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมเด็กปฐมวัย เก่ง ดี มีสุข จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8429-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสมฤดี สิทธิการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด