กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก 6 เดือน – 5ปี
รหัสโครงการ 66-L8429-01-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลสิเกา
วันที่อนุมัติ 7 เมษายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2566 - 30 กรกฎาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวภัทราพร ใจแข็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.569505428,99.33580733place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2566 30 ก.ค. 2566 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

ระบุ

กลุ่มวัยทำงาน 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก คือ ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณธาตุเหล็กไม่เพียงพอ ที่จะนำไปสร้าง เม็ดเลือดแดง เป็นผลให้ร่างกายมีจำนวนเม็ดเลือดแดงหรือความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเลือดต่ำกว่าปกติ ซึ่ง พบว่ามีอาการซีดของเล็บและเปลือกตาด้านใน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก มีสาเหตุหลักจากการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่พียงพอเด็กที่กำลังเจริญเติบโตร่างกายต้องการธาตุเหล็กเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากธาตุเหล็กมีผลต่อการเจริญเติบโตของสมอง มีผลต่อพัฒนาการ และการเรียนรู้ เด็กเล็กที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก จึงมีพัฒนาการช้า กว่าเด็กปกติ จากระบบรายงาน Health Data Center : HDC กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข พบว่าเด็กไทยอายุ 6 เดือน – 5 ปี ที่รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางในโรงพยาบาลสิเกา ตั้งแต่ พ.ศ. 2563 - 2565 มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 31.13, 32.29 และ 38.16 ตามลำดับ จากแนวโน้มที่สูงขึ้นของอัตราภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กไทยอายุ 6 เดือน – 5 ปี กลุ่มงาน บริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลสิเกา จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโลหิตจางจากการขาด ธาตุเหล็กในเด็ก 6 เดือน – 5 ปี ประจำปี 2566 เพื่อส่งเสริมให้เด็กช่วงอายุ 6 เดือน - 5 ปี ได้รับการ ส่งเสริม ภาวะโภชนาการ และได้รับธาตุเหล็กอย่างพียงพอ โดยรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กเป็นประจำสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เพื่อการเจริญเติบโตสมวัย แข็งแรง พัฒนาการดี และระดับสติปัญญา (ไอคิว) ดี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กไทยช่วงอายุ 6-12 เดือน และ 3-5 ปี ได้รับ การตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจาง

เด็กอายุ 6-12 เดือน และ อายุ 3 - 5 ปี ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาล ได้รับการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวังภาวะโลหิตจาง

80.00
2 เพื่อให้เด็กช่วงอายุ 6 เดือน - 5 ปี ได้รับยาเสริม ธาตุเหล็ก อย่างครอบคลุม

เด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ได้รับยาน้ำ เสริมธาตุเหล็ก

80.00
3 เพื่อให้เด็กที่ตรวจพบว่ามีภาวะซีดได้รับการรักษา ทันที

เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดได้รับการพบ แพทย์เพื่อรักษาทันที

60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
29 มิ.ย. 66 ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคโลหิตจางในเด็กแก่ผู้ปกครอง - สุ่มเจาะเลือดเพื่อประเมินค่าความเข้มข้นเลือด (Hct.) ในเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี - ให้ความรู้ผู้ปกครอง และจ่ายยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก - ติดตามประเมินค่าความเข้มข้นเลือด Hct. หลังจ่ายยา 1 เดื 55 10,000.00 10,000.00
รวม 55 10,000.00 1 10,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ปกครองมีความรู้เบื้องต้น ในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก 2. เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 พ.ค. 2566 12:47 น.