โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี ปาลกาลย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4141-01-07 เลขที่ข้อตกลง 011/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4141-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2556 – 2560) เพิ่มขึ้นจาก 12,342.14 (จำนวน 3,936,171 คน) เป็น 14,926.47 (จำนวน 5,597,671 คน) และจากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขอัตราการป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2558 – 2560) เพิ่มขึ้นจาก 916.89 (จำนวน 540,013 คน) เป็น 1,353.01 (จำนวน 813,485 คน) และนอกจากนี้รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ปีพ.ศ. 2552 และ 2557 พบว่าความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.4 (ชายร้อยละ 21.5 และหญิงร้อยละ 21.3) เป็นร้อยละ 24.7 (ผู้ชายร้อยละ 25.6 และผู้หญิงร้อยละ 23.9)
ส่วนโรคเบาหวานนั้น จากฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เข้ารับบริการในสถานพยาบาลของรัฐ ผู้ป่วยสะสม รวม 1,219,161 ราย ความชุก 1,863.39 ต่อประชากรแสนคน ผู้เสียชีวิต 12,074 ราย อัตราตาย 18.45 ต่อประชากรแสนคนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยรายใหม่393,887 ราย คิดเป็นอุบัติการณ์602.03 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งมีแนวโน้มคงที่ไม่ลดลง (นพ.อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์)ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้ แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง “มีผลการวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมถึงการออกกำลังกายเป็นประจำ ส่งผลโดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์ อีกทั้งยังเป็นการควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และป้องกันโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานเพราะการควบคุมอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสมจะช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ให้สูง”
ตำบลลำใหม่ ปี 2566 พบผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน234 รายกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 187 ราย และพบผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ในปี พ.ศ.2566 จำนวน 6 ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โดยได้จัดทำโครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยเน้นกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน โรคเบาหวานที่ไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ก่อให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของผู้ป่วยและครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติ ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญได้แก่ ภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า เป็นต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วันที่ 22 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประเมินภาวะค่า BMI วัดรอบเอว รอบสะโพก ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และความดันโลหิตก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในประชากรกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยใช้หลัก 3อ.2ส.1ฟ.1น.
3.กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนในการติดตามเจาะเลือดปลายนิ้ว ทุก 3 เดือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการดำเนินงานโครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในวันที่ 22 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อให้ประชาชนที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน หัวข้อ ความรู้เกี่ยวกับภาวะอ้วน หลัก 3 อ 2 ส 1 ฟ 1 น เพื่อนำไปปฏิบัติ และ ถ่ายทอดผู้อื่น จัดกิจกรรมฐานความรู้ การรับประทานอาหาร การออกกำลังกายที่เหมาะสม และการจัดการด้านอารมณ์และการจัดการ "ลด ละ เลิก บุหรี่-สุรา เลี่ยงภัยสุขภาพ" และฝึกปฏิบัติออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โดยวิทยากร นางยูไลนี กีละ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ที่อาจส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของผู้ป่วยและครอบครัว
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผุ้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
2
ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
10
10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4141-01-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายดุษฎี ปาลกาลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี ปาลกาลย์
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4141-01-07 เลขที่ข้อตกลง 011/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4141-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2556 – 2560) เพิ่มขึ้นจาก 12,342.14 (จำนวน 3,936,171 คน) เป็น 14,926.47 (จำนวน 5,597,671 คน) และจากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขอัตราการป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2558 – 2560) เพิ่มขึ้นจาก 916.89 (จำนวน 540,013 คน) เป็น 1,353.01 (จำนวน 813,485 คน) และนอกจากนี้รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ปีพ.ศ. 2552 และ 2557 พบว่าความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.4 (ชายร้อยละ 21.5 และหญิงร้อยละ 21.3) เป็นร้อยละ 24.7 (ผู้ชายร้อยละ 25.6 และผู้หญิงร้อยละ 23.9)
ส่วนโรคเบาหวานนั้น จากฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เข้ารับบริการในสถานพยาบาลของรัฐ ผู้ป่วยสะสม รวม 1,219,161 ราย ความชุก 1,863.39 ต่อประชากรแสนคน ผู้เสียชีวิต 12,074 ราย อัตราตาย 18.45 ต่อประชากรแสนคนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยรายใหม่393,887 ราย คิดเป็นอุบัติการณ์602.03 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งมีแนวโน้มคงที่ไม่ลดลง (นพ.อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์)ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้ แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง “มีผลการวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมถึงการออกกำลังกายเป็นประจำ ส่งผลโดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์ อีกทั้งยังเป็นการควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และป้องกันโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานเพราะการควบคุมอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสมจะช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ให้สูง”
ตำบลลำใหม่ ปี 2566 พบผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน234 รายกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 187 ราย และพบผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ในปี พ.ศ.2566 จำนวน 6 ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โดยได้จัดทำโครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยเน้นกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน โรคเบาหวานที่ไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ก่อให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของผู้ป่วยและครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติ ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญได้แก่ ภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า เป็นต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 10 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประเมินภาวะค่า BMI วัดรอบเอว รอบสะโพก ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และความดันโลหิตก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในประชากรกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยใช้หลัก 3อ.2ส.1ฟ.1น. 3.กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนในการติดตามเจาะเลือดปลายนิ้ว ทุก 3 เดือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานโครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในวันที่ 22 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อให้ประชาชนที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน หัวข้อ ความรู้เกี่ยวกับภาวะอ้วน หลัก 3 อ 2 ส 1 ฟ 1 น เพื่อนำไปปฏิบัติ และ ถ่ายทอดผู้อื่น จัดกิจกรรมฐานความรู้ การรับประทานอาหาร การออกกำลังกายที่เหมาะสม และการจัดการด้านอารมณ์และการจัดการ "ลด ละ เลิก บุหรี่-สุรา เลี่ยงภัยสุขภาพ" และฝึกปฏิบัติออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โดยวิทยากร นางยูไลนี กีละ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ที่อาจส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของผู้ป่วยและครอบครัว
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผุ้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง |
|
|||
2 | ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 10 | 10 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลงจากเดิม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4141-01-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายดุษฎี ปาลกาลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......