โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสุภา ปลื้มใจ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนเขต 10
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5278-2-35 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กันยายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5278-2-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กันยายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,880.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วย เป็นจำนวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่าง ๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมี การขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์ สร้างขึ้น โรคไข้เลือดออกจึงเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยมาโดยตลอด สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรค เพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่
สาเหตุหนึ่งของการเกิดโรคไข้เลือดออกที่สำคัญ เกิดจากการเคลื่อนที่ของประชากร เศษขยะในชุมชนและหากมีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ก็จะทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงเป็นพาหะไปสู่ชุมชนได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์กำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่
- ครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย
- ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
- ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อโดยแมลง
- ประกวดบ้านต้นแบบด้านการป้องกันและควบคุมโรค
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนเขต 10 ลดลง
2.ประชาชนในชุมชนเขต 10 มีความรู้และตระหนัก และมีความเข้าใจ และให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
วันที่ 22 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมเตรียมการ 1 ครั้ง (อสม. กรรมการชุมชน เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขฯ)
จำนวน 46 คน x 30 บาท เป็นเงิน 1,380 บาท
2.ค่าวัสดุสำนักงาน (แฟ้ม สมุด ปากกา) 2,000 บาท
3.ป้ายไวนิลโครงการขนาด 2x3 เมตร ตารางเมตรละ 130 บาท เป็นเงิน 780
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการให้เป็นเรียบร้อยตามแผนที่วางไว้
46
0
2. ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อโดยแมลง
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ณรงค์ป้องกันโรคติดต่อโดยแมลง
1. กิจกกรมให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก / โรคติดต่อโดยแมลง
2. กิจกรรมเดินรณรงค์ และกำจักแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกิจกรรมรณรงค์ 6 ครั้ง (อสม. กรรมการชุมชน เจ้าหน้าที่กองสาธารณ
สุขฯ และ ประชาชน จำนวน 46 คน x 30 บาท x 6 ครั้ง) เป็นเงิน 8,280 บาท
2.ค่าจัดทำไวนิล 4 ผืน (ขนาด 1.20 x 2.5 ม.) ตรม.ละ 130 บาท เป็นเงิน 1,560 บาท
3.ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
- ไฟฉาย 4 อัน เป็นเงิน 2,000 บาท
4.วัสดุโครงการ (แบบสำรวจลูกน้ำ ปากกา สมุด) เป็นเงิน 3,000 บาท
5.โทรโข่ง 1 อัน ๆ ละ 3,000 บาท
6. เกลือ เป็นเงิน 2,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ทำให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออกและให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น และยังทำให้ประชาชนเกิดความตระหนักและช่วยกันกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
46
0
3. ประกวดบ้านต้นแบบด้านการป้องกันและควบคุมโรค
วันที่ 4 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าเกียรติบัตรพร้อมกรอบจำนวน 5 ชุด ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทำให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
5
0
4. สรุปผลการดำเนินโครงการ
วันที่ 17 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมสรุปผลโครงการ 1 ครั้ง (อสม.กรรมการชุมชน เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขฯ) จำนวน 46 คน x 30 บาท เป็นเงิน 1,380 บาท
2 ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม 1,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดทำเอกสารรูปเล่มรายงานผลโครงการเพื่อสรุปค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ดำเนินกิจกรรมไปและเป็นแนวทางความรู้ในการทำโครงการต่อไป
46
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด
3.00
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์กำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ (3) ครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย (4) ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ (5) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ (6) ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อโดยแมลง (7) ประกวดบ้านต้นแบบด้านการป้องกันและควบคุมโรค (8) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10 จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5278-2-35
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุภา ปลื้มใจ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนเขต 10 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสุภา ปลื้มใจ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนเขต 10
กันยายน 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5278-2-35 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กันยายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5278-2-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กันยายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,880.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วย เป็นจำนวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่าง ๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมี การขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์ สร้างขึ้น โรคไข้เลือดออกจึงเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยมาโดยตลอด สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรค เพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ สาเหตุหนึ่งของการเกิดโรคไข้เลือดออกที่สำคัญ เกิดจากการเคลื่อนที่ของประชากร เศษขยะในชุมชนและหากมีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ก็จะทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงเป็นพาหะไปสู่ชุมชนได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์กำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่
- ครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย
- ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
- ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อโดยแมลง
- ประกวดบ้านต้นแบบด้านการป้องกันและควบคุมโรค
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนเขต 10 ลดลง 2.ประชาชนในชุมชนเขต 10 มีความรู้และตระหนัก และมีความเข้าใจ และให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ |
||
วันที่ 22 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมเตรียมการ 1 ครั้ง (อสม. กรรมการชุมชน เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขฯ) จำนวน 46 คน x 30 บาท เป็นเงิน 1,380 บาท 2.ค่าวัสดุสำนักงาน (แฟ้ม สมุด ปากกา) 2,000 บาท 3.ป้ายไวนิลโครงการขนาด 2x3 เมตร ตารางเมตรละ 130 บาท เป็นเงิน 780 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการให้เป็นเรียบร้อยตามแผนที่วางไว้
|
46 | 0 |
2. ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อโดยแมลง |
||
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำณรงค์ป้องกันโรคติดต่อโดยแมลง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ทำให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออกและให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น และยังทำให้ประชาชนเกิดความตระหนักและช่วยกันกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
|
46 | 0 |
3. ประกวดบ้านต้นแบบด้านการป้องกันและควบคุมโรค |
||
วันที่ 4 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าเกียรติบัตรพร้อมกรอบจำนวน 5 ชุด ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทำให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
|
5 | 0 |
4. สรุปผลการดำเนินโครงการ |
||
วันที่ 17 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมสรุปผลโครงการ 1 ครั้ง (อสม.กรรมการชุมชน เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขฯ) จำนวน 46 คน x 30 บาท เป็นเงิน 1,380 บาท 2 ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม 1,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดทำเอกสารรูปเล่มรายงานผลโครงการเพื่อสรุปค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ดำเนินกิจกรรมไปและเป็นแนวทางความรู้ในการทำโครงการต่อไป
|
46 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด |
3.00 | 1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์กำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ (3) ครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย (4) ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ (5) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ (6) ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อโดยแมลง (7) ประกวดบ้านต้นแบบด้านการป้องกันและควบคุมโรค (8) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนเขต 10 จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5278-2-35
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุภา ปลื้มใจ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนเขต 10 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......