กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ To be number one กือแด ปี 66 ”

บ้านกือแด ม.7 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮามะซานูซี เงาะ

ชื่อโครงการ To be number one กือแด ปี 66

ที่อยู่ บ้านกือแด ม.7 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3065-2-18 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"To be number one กือแด ปี 66 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านกือแด ม.7 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
To be number one กือแด ปี 66



บทคัดย่อ

โครงการ " To be number one กือแด ปี 66 " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านกือแด ม.7 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3065-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 82 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาเยาวชน บ้านกือแดเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ที่มีความใกล้ชิดกับวัยรุ่นในพื้นที่ ได้มีกิจกรรมหลายๆกิจกรรมปฏิสัมพันธ์กับวัยรุ่น มาหลายปี ปัญหาที่พบส่วนใหญ่ในกลุ่มวัยรุ่น คือมีความเสี่ยงสูงต่อการติดยาเสพติด การป้องกันที่ดีที่สุด คือ การจัดกิจกรรมเพื่อให้เยาวชนได้มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การจัดกิจกรรมจิตอาสาเพื่อช่วยเหลือชุมชนในด้านต่างๆตามบริบทและวิถีชีวิตของชุมชนเพื่อให้เยาวชนมีความรู้สึกว่าตนเองมีค่าทางสภาฯมองเห็นว่าการปลูกจิตสำนึกด้านจิตสาธารณะ คือการปลูกฝังจิตใจให้แก่บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นการสร้างคุณธรรม จริยธรรมภายในให้บุคคลรู้จักการเสียสละ ร่วมแรงร่วมใจ ร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่างๆที่เป็นประโยชน์เพื่อส่วนรวม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างประโยชน์สุขของคนในสังคม ในสิทธิหน้าที่และการบำรุงรักษาร่วมกัน เกื้อกูลช่วยเหลือทุกข์ยากหรือผู้ที่ร้องขอความช่วยเหลือโดยไม่ขัดต่อกฎหมายหรือกฎระเบียบสังคม ลักษณะประการหนึ่งของกิจกรรมสาธารณะก็คือเป็นกิจกรรรมตามความสมัครใจ เยาวชนต้องลงมือทำด้วยความรับผิดชอบต่อหน้าที่ โดยคำนึงถึงผู้ที่จะได้รับจากการกระทำนั้นจึงทำให้เยาวชนที่จะเข้าร่วมกิจกรรมสามารถที่จะพัฒนาคุณลักษณะพึงประสงค์โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เยาวชนมีจิตสาธารณะที่พร้อมจะช่วยเหลือสังคม จะต้องเริ่มให้เยาวชนเริ่มมีจิตสำนึกอาสาเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็นผู้นำสังคมอย่างมีจิตสำนึกต่อไปและที่สำคัญต้องมีกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หากเยาวชนได้มีการรวมตัวกัน มีความเข้าใจในรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เหมือนกันก่อให้เกิดความสามัคคีกัน ภัยคุกคามต่างๆจากภายนอก ก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเยาวชนและประชาชนในพื้นที่ เพราะเยาวชนคือกำลัง พลัง อนาคตของชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีจิตอาสา มีจิตสำนึกที่ดีและกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนในพื้นที่ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำโครงการ To be number one กือแด ปี 66 ขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของสภาเยาวชน บ้านกือแด ในการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังภัยคุกคามต่อสุขภาพของเยาวชนในพื้นที่ จึงจัดทำโครงการขอรับการพิจารณาจากการคณะกรรมการกองทุนฯ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีการออกกำลังกายใช้เวลาว่างให้เป็นประโยช์ไม่มั่วสุมกับยาเสพติด
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของสภาเยาวชน ในพื้นที่ในการเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดและกิจกรรมเป็นประโยชน์ต่อชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมองค์ความรู้และพัฒนาการมีส่วนร่วม
  2. ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย
  3. ส่งเสริมจิตอาสารักสุขภาพ
  4. ติดตาม ประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนได้ตระหนักให้ความสำคัญต่อสุขภาพของตนเอง และคนรอบข้าง
  2. เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สามารถปฏิบัติตนในแนวทางที่ถูกต้อง เหมาะสมและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่น ในสถานศึกษา และชุมชุน
  3. เยาวชนตระหนักในกิจกรรมจิตอาสา
  4. เยาวชนเป็นกำลังหลักของหมู่บ้านในทุกเรื่อง
  5. เยาวชนมีความรู้สึกสำคัญมีคุณค่าในตนเอง และชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ส่งเสริมองค์ความรู้และพัฒนาการมีส่วนร่วม

วันที่ 2 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพ กลุ่มวัยรุ่นในพื้นที่ เพื่อขับเคลื่อนโครงการ การดำเนินงาน ในกิจกรรมต่าง งบประมาณ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  25 บาท x 100 มื้อ  เป็นเงิน 2,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีการประชุมและร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของสมาชิกสภาฯอย่างต่อเนื่อง
  2. มีการทำงานเป็นขั้นเป็นตอน

 

0 0

2. ส่งเสริมจิตอาสารักสุขภาพ

วันที่ 9 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อม เช่น การเก็บขยะตกค้าง 2 ข้างทางสาธารณะ การปลูกต้นไม้ในบริเวณต่างๆในหมู่บ้าน กิจกรรมพัฒนาพื้นที่สถานที่สาธารณประโยชน์ต่างๆ กิจกรรมรณรงค์ถังขยะเปียกลดโลกร้อน กิจกรรมการคัดแยกขยะ เป็นต้น
  • จิตอาสาเพื่อนดูแลเพื่อนหรือตาสัปปะรด ห่างไกลยาเสพติด งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  25 บาท x 200 มื้อ  เป็นเงิน 5,000 บาท
    • ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในกิจกรรม เช่น  วัสดุอุปกรณ์ทางการเกษตร ถังขยะ ถุงดำ ถุงแดง พันธ์ไม้ดอก ไม้ประดับต่างๆ หรืออื่นๆที่ใช้ในกิจกรรม  เป็นเงิน  3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาพื้นที่สถานที่สาธารณประโยชน์ต่างๆ ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  2. เกิดความสามัคคีในหมู่คณะของเยาวชน
  3. สร้างทัศนคติที่ดี ช่วยให้เยาวชนห่างไกลและไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

 

0 0

3. ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย

วันที่ 20 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • กิจกรรมเคลื่อนขยับยามเย็น เช่น การส่งเสริมการเล่นกีฬาทีนิยมต่างๆในพื้นที่ ส่งเสริมเข้าร่วมการแข่งขันในระดับต่างๆ การสอนและฝึกทักษะกีฬาและอื่นๆ งบประมาณ
          - ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในกิจกรรม เช่น  ลูกฟุตบอล วอลเลย์บอล ตะกร้อ ตาข่าย หรืออื่นๆที่ใช้ในกิจกรรม  เป็นเงิน  5,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย อย่างต่อเนื่อง
  2. เยาวชนใช้เวลาว่างออกกำลังกาย หรือขยับกายให้เป็นประโยชน์
  3. เยาวชนมีทัศนคติที่ดีต่อการออกกำลังกายและต่อต้านยาเสพตติด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีการออกกำลังกายใช้เวลาว่างให้เป็นประโยช์ไม่มั่วสุมกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนในพื้นที่ได้มีการออกกำลังกาย การขยับกายย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้งๆ ละไม่น้อยกว่า 30 นาที
82.00 65.60

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของสภาเยาวชน ในพื้นที่ในการเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดและกิจกรรมเป็นประโยชน์ต่อชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนในพื้นที่ได้มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมที่เป็น การเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน
82.00 73.80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีการออกกำลังกายใช้เวลาว่างให้เป็นประโยช์ไม่มั่วสุมกับยาเสพติด (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของสภาเยาวชน ในพื้นที่ในการเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดและกิจกรรมเป็นประโยชน์ต่อชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมองค์ความรู้และพัฒนาการมีส่วนร่วม (2) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย (3) ส่งเสริมจิตอาสารักสุขภาพ (4) ติดตาม ประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


To be number one กือแด ปี 66 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3065-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮามะซานูซี เงาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด