โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ ”
ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางนฤมล สุนทรสุวาทีกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาชัยสน
กรกฎาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2566-L7576-02-18 เลขที่ข้อตกลง 15/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L7576-02-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 พฤษภาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขไทยโดยเฉพาะเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งในแต่ละปีจะต้องมีการใช้จ่ายในการรักษาโรคเรื้อรังเหล่านี้เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยแล้วก็จะต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอพบแพทย์ตามนัด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกาลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการด้านอารมณ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังของระบบต่อมไร้ท่อที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของหลายประเทศ ความผิดปกติที่เท้าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดจากการเสื่อมของเส้นประสาทและหลอดเลือด ทำให้อัตราความเร็วในการนำสัญญาณประสาทลดลง ความไวของผิวหนังต่อการรับรู้สัมผัสลดลงหรือหายไป ซึ่งการเสื่อมของหลอดเลือดและเส้นประสาทมักปรากฏอาการมากที่เท้า ทำให้การรับรู้ความรู้สึกบริเวณเท้าลดลง เกิดอาการชาเมื่อผู้ป่วยเดินสะดุดของแข็งหรือเหยียบของมีคมจึงไม่รู้สึกตัว เกิดเป็นแผลง่าย นอกจากนี้ยังทำให้เลือดไปเลี้ยงเท้าน้อยลง เกิดการขาดเลือดกลายเป็นเนื้อตายได้เมื่อเกิดการติดเชื้อที่แผลขึ้นร่วมกับการที่ผู้ป่วยไม่ได้ดูแลใส่ใจเท้าเป็นพิเศษ ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสถูกตัดขาได้ เนื่องจากเกิดแผลเนื้อตายที่เท้ามากกว่าคนปกติถึง 40 เท่า การแพทย์แผนไทยเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ให้การดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคเรื้อรังควบคู่ไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความเจ็บป่วย และเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ ดังนั้นชมรมเขาชัยสนไลน์แด๊นซ์ จึงได้นำภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางด้านการส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนทุกเพศ ทุกวัย มุ่งหวังให้ประชาชนพึ่งตนเองด้านสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- เพื่อส่งเสริมและป้องกันโรคโดยการส่งต่อความรู้ในการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน และใช้สมุนไพรแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมและฝึกปฎิบัติแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
- สาธิตและให้ความรู้การแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการใช้สมุนไพรและสามารถเป็นแกนนำการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเฝ้าระวังความเสี่ยงและมีทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ระบบย่อยอาหารของร่างกายทำงานดีขึ้น ระบบการไหลเวียนเลือดดีขึ้น ลดอาการเท้าบวมได้ดีขึ้น ช่วยให้นอนหลับง่ายขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมและฝึกปฎิบัติแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
วันที่ 29 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- อบรมและฝึกปฏิบัติการการแช่เท้าด้วยสมุนไพร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถฝึกและสามารถเป็นแกนนำได้
0
0
2. สาธิตและให้ความรู้การแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
วันที่ 30 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สาธิตและเผยแพร่การแช่เท้าด้วยสมุนไพร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการใช้สมุนไพรและสามารถเป็นแกนนำการใช้สมุนไพรและ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเฝ้าระวังความเสี่ยงและมีทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการใช้สมุนไพรและสามารถเป็นแกนนำการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
0.00
50.00
50.00
2
เพื่อส่งเสริมและป้องกันโรคโดยการส่งต่อความรู้ในการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน และใช้สมุนไพรแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลเท้าของตนเองและของผู้ป่วยเบาหวาน และสามารถใช้สมุนไพรแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ถูกต้อง
0.00
50.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อส่งเสริมและป้องกันโรคโดยการส่งต่อความรู้ในการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน และใช้สมุนไพรแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและฝึกปฎิบัติแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ (2) สาธิตและให้ความรู้การแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2566-L7576-02-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนฤมล สุนทรสุวาทีกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ ”
ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางนฤมล สุนทรสุวาทีกุล
กรกฎาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2566-L7576-02-18 เลขที่ข้อตกลง 15/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L7576-02-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 พฤษภาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขไทยโดยเฉพาะเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งในแต่ละปีจะต้องมีการใช้จ่ายในการรักษาโรคเรื้อรังเหล่านี้เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยแล้วก็จะต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอพบแพทย์ตามนัด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกาลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการด้านอารมณ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังของระบบต่อมไร้ท่อที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของหลายประเทศ ความผิดปกติที่เท้าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดจากการเสื่อมของเส้นประสาทและหลอดเลือด ทำให้อัตราความเร็วในการนำสัญญาณประสาทลดลง ความไวของผิวหนังต่อการรับรู้สัมผัสลดลงหรือหายไป ซึ่งการเสื่อมของหลอดเลือดและเส้นประสาทมักปรากฏอาการมากที่เท้า ทำให้การรับรู้ความรู้สึกบริเวณเท้าลดลง เกิดอาการชาเมื่อผู้ป่วยเดินสะดุดของแข็งหรือเหยียบของมีคมจึงไม่รู้สึกตัว เกิดเป็นแผลง่าย นอกจากนี้ยังทำให้เลือดไปเลี้ยงเท้าน้อยลง เกิดการขาดเลือดกลายเป็นเนื้อตายได้เมื่อเกิดการติดเชื้อที่แผลขึ้นร่วมกับการที่ผู้ป่วยไม่ได้ดูแลใส่ใจเท้าเป็นพิเศษ ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสถูกตัดขาได้ เนื่องจากเกิดแผลเนื้อตายที่เท้ามากกว่าคนปกติถึง 40 เท่า การแพทย์แผนไทยเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ให้การดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคเรื้อรังควบคู่ไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความเจ็บป่วย และเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ ดังนั้นชมรมเขาชัยสนไลน์แด๊นซ์ จึงได้นำภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางด้านการส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนทุกเพศ ทุกวัย มุ่งหวังให้ประชาชนพึ่งตนเองด้านสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- เพื่อส่งเสริมและป้องกันโรคโดยการส่งต่อความรู้ในการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน และใช้สมุนไพรแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมและฝึกปฎิบัติแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
- สาธิตและให้ความรู้การแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการใช้สมุนไพรและสามารถเป็นแกนนำการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเฝ้าระวังความเสี่ยงและมีทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ระบบย่อยอาหารของร่างกายทำงานดีขึ้น ระบบการไหลเวียนเลือดดีขึ้น ลดอาการเท้าบวมได้ดีขึ้น ช่วยให้นอนหลับง่ายขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมและฝึกปฎิบัติแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. สาธิตและให้ความรู้การแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ |
||
วันที่ 30 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการใช้สมุนไพรและสามารถเป็นแกนนำการใช้สมุนไพรและ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเฝ้าระวังความเสี่ยงและมีทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการใช้สมุนไพรและสามารถเป็นแกนนำการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ |
0.00 | 50.00 | 50.00 |
|
2 | เพื่อส่งเสริมและป้องกันโรคโดยการส่งต่อความรู้ในการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน และใช้สมุนไพรแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลเท้าของตนเองและของผู้ป่วยเบาหวาน และสามารถใช้สมุนไพรแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ถูกต้อง |
0.00 | 50.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อส่งเสริมและป้องกันโรคโดยการส่งต่อความรู้ในการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน และใช้สมุนไพรแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและฝึกปฎิบัติแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ (2) สาธิตและให้ความรู้การแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมแกนนำแช่เท้าด้วยสมุนไพรใส่ใจสุขภาพ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2566-L7576-02-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนฤมล สุนทรสุวาทีกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......