กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ


“ โครงการอาหารดี สุขภาพดี พัฒนาการดี ”

ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายไพศาล มะเระ

ชื่อโครงการ โครงการอาหารดี สุขภาพดี พัฒนาการดี

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8411-03-17 เลขที่ข้อตกลง 15/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารดี สุขภาพดี พัฒนาการดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารดี สุขภาพดี พัฒนาการดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารดี สุขภาพดี พัฒนาการดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8411-03-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,270.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์จะทำให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่สมบูรณ์ซึ่งก่อให้เกิดภาวะสุขภาพที่ดีตามมาด้วย เด็กในช่วงอายุ 2-6 ปี เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดวัยหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นวัยที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาครบทุกด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ไปพร้อม ๆกัน การให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสม มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายเด็ก คือ อาหารต้องได้ครบ 5 หมู่ในปริมาณและคุณภาพที่เพียงพอเหมาะสมกับวัยทุกวัน โดยมีอาหารหลัก 5 หมู่ ที่หลากหลายและอาหารว่างไม่เกิน 2 มื้อ นม 2-3 แก้วต่อวัน มื้อเช้าเป็นมื้อที่สำคัญให้ครบถ้วนได้สัดส่วนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายให้บริโภคอาหารให้ตรงเวลา ไม่ควรให้เด็กรับประทานขนมจุกจิก ผู้ปกครองควรให้ความสนใจกับสภาพจิตใจของเด็กเพราะมีผลกระทบถึงการกินอาหารและภาวะโภชนาการของเด็ก จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งปัจจุบันและอนาคตและช่วงอายุแรกเกิดถึง 5 ปี เป็น “โอกาสทอง” ที่เด็กมีการเจริญเติบโตด้านร่างกายและพัฒนาการด้าน ต่าง ๆ เด็กจะมีพัฒนาการด้านต่าง ๆ เต็มตามศักยภาพ ถ้าเด็กได้รับการเลี้ยงดูที่ดี โดยเริ่มต้นจากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญในการกระตุ้นส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยครูผู้ดูแลเด็กจึงมีบทบาทสำคัญในการเลี้ยงดูกระตุ้นส่งเสริมให้เด็กเล็กที่พ่อแม่/ผู้ปกครองนำมาฝากไว้มี พัฒนาการสมวัย อย่างไรก็ตาม จากการเลี้ยงดูและการเอาใจใส่ที่แตกต่างกันเช่น ขาดสารอาหาร สุขภาพไม่ สมบูรณ์ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ขาดสิ่งกระตุ้นพัฒนาการ ขาดการเลี้ยงดูที่เหมาะสมขาดการกระตุ้นการ ตอบสนอง และอยู่ในสภาพที่ไม่ปลอดภัย ท าให้เด็กเล็กจ านวนหนึ่ง มีพัฒนาการต่ ากว่าระดับศักยภาพปกติ การ ประเมินติดตามพัฒนาการเป็นประจำจะทำให้พบเด็กเล็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าเพิ่มโอกาสในการพัฒนากระตุ้นแก้ไข
      จากความสำคัญของอาหาร พฤติกรรมการกินอาหารของเด็กและพัฒนาการ ส่งผลต่อภาวะโชนาการของเด็กนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดยาแมะ ได้เล็งเห็นความสำคัญของโภชนาการและพัฒนาการของนักเรียนในเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ จึงได้จัดทำโครงการอาหารดีสุขภาพดี พัฒนาการดี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดยาแมะ สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร และผู้ปกครอง ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกบริโภคอาหารที่ดีเหมาะสมกับวัยของเด็กตามวัยและส่งเสริมพัฒนาการเด็กต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ ผู้ประกอบอาหาร ผู้ปกครอง เห็นความสำคัญของการบริโภชอาหารตามโภนาการอาหารหลัก 4 หมู่มากขึ้น
  2. เพื่อให้ ผู้ประกอบอาหาร ผู้ปกครอง สามารถ จัดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในการเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงวัยอายุ (DSPM)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงวัยอายุ (DSPM)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้ประกอบการ และผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำอาหารที่ถูกตามหลักโภชนาการและเมนูหลาดหลาย
2 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดยาแมะได้บริโภชอาหารถูกหลักตามโภชนาการอาหารหลัก 5 หมู่ 3 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดยาแมะมีพัฒนาการตาช่วงวัยอายุสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงวัยอายุ (DSPM)

วันที่ 10 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

2.1 ประชุมคณะทำงาน เพื่อจัดทำโครงการ ฯ และเสนอโครงการ ฯ เพื่อขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ 2.2 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 2.3 จัดกิจกรรมอบรมโครงการอาหารดี สุขภาพดี พัฒนาการดี 2.4 สรุปผลการจัดกิจกรรมอบรมโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ ผู้ประกอบอาหาร ผู้ปกครอง เห็นความสำคัญของการบริโภชอาหารตามโภนาการอาหารหลัก 4 หมู่มากขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ ผู้ประกอบอาหาร ผู้ปกครอง สามารถ จัดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในการเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงวัยอายุ (DSPM)
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ ผู้ประกอบอาหาร ผู้ปกครอง เห็นความสำคัญของการบริโภชอาหารตามโภนาการอาหารหลัก 4 หมู่มากขึ้น (2) เพื่อให้ ผู้ประกอบอาหาร  ผู้ปกครอง สามารถ จัดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย (3) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในการเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงวัยอายุ (DSPM)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงวัยอายุ (DSPM)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารดี สุขภาพดี พัฒนาการดี จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8411-03-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไพศาล มะเระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด