กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อยกระดับมาตรฐานการบริการผู้ประกอบการ ประจำปี 2561 ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสุวิมลแซ่เฮง

ชื่อโครงการ โครงการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อยกระดับมาตรฐานการบริการผู้ประกอบการ ประจำปี 2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 1 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อยกระดับมาตรฐานการบริการผู้ประกอบการ ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อยกระดับมาตรฐานการบริการผู้ประกอบการ ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อยกระดับมาตรฐานการบริการผู้ประกอบการ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 1 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุมดูแลเพื่อคุ้มครองประชาชนด้านสุขลักษณะและการอนามัยสิ่งแวดล้อมจากการประกอบกิจการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาน โดยให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นในการควบคุมดูแลจัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาต การสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต และผู้ที่จะดำเนินการประกอบกิจการต้องขออนุญาต ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นก่อนดำเนินการ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ากิจการดังกล่าวจะไม่ก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญหรืออันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ได้แก่ กิจการตลาด ร้านอาหาร ร้านสะสมอาหาร และกิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพที่อาจส่งผลกระทบต่อการแพร่ระบาดของโรค และสุขภาพของประชาชนผู้บริโภค จึงจำเป็นต้องมีการควบคุมหรือกำกับดูแลการประกอบกิจการดังกล่าว จากการดำเนินงานสำรวจข้อมูลสถานประกอบกิจการในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี ๒๕๖๐ ได้แก่ ตำบลสะบารัง อาเนาะรูและจะบังติกอ มีร้านจำหน่ายอาหารทั้งหมด๗๕ แห่ง ผ่านเกณฑ์ CFGT ทั้งหมด ๖๑ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๓ ไม่ผ่านเกณฑ์ CFGT ๑๔ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๗ จัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาตได้๗๑ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๗ ร้านสะสมอาหาร ๑๑๙ แห่ง จัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาตได้ ๙๗ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๕ตลาดเอกชน ๑ แห่ง จัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาตได้ ๑ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ๒๕๑ แห่ง จัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาตได้ ๒๑๒ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๕ รวมสถานประกอบกิจการทุกประเภททั้งหมด ๔๔๖ แห่ง จัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาตได้ ๓๘๑ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๔ และยังไม่ครอบคลุมสถานประกอบการทุกแห่ง ซึ่งปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรายใหม่ ส่วนใหญ่ฝ่าฝืนต่อกฎหมาย ไม่ขอใบอนุญาตก่อนดำเนินกิจการ เนื่องจาก ขาดความรู้ ไม่ทราบข้อกำหนดของเทศบัญญัติ และรายเก่าเปลี่ยนกิจการหรือยกเลิกโดยไม่ได้แจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่น นอกจากนี้พบปัญหาสำคัญที่เป็นประเด็น ได้แก่ การจัดทำฐานข้อมูล ผู้ประกอบยังไม่ครอบคลุมเท่าที่ควร ทำให้ไม่ทราบข้อมูลผู้ประกอบกิจการ จึงไม่สามารถติดตามจัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาตได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อพัฒนายกระดับมาตรฐานการบริการผู้ประกอบการ ประจำปี ๒๕๖๑ เพื่อให้ผู้ประกอบการได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดในเทศบัญญัติ และเพื่อให้ผู้ประกอบการมีใบอนุญาตประกอบกิจการที่ถูกต้อง ซึ่งการจัดทำฐานข้อมูลที่สมบูรณ์ต้องเชื่อมโยงการดำเนินงานผ่านระบบเครือข่าย Internet และใช้แผนที่ปักหมุดติดตาม เพื่อให้การดำเนินงานจัดเก็บใบอนุญาตมีความครอบคลุมทุกพื้นที่ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  2. ๑.๒ เพื่อสะดวกในการติดตามร้านค้าทุกประเภทให้มีใบอนุญาตประกอบกิจการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจหาเชื้อคลอริฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร
  2. จัดอบรมความรู้ด้านสุขลักษณะการประกอบการร้านอาหาร
  3. จัดอบรมเทศบัญญัติด้านการประกอบกิจการร้านอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 160
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยร้อยละ 90 ของผู้ ของผู้ประกอบกิจการทุกประเภทได้รับการจัดทำฐานข้อมูลครอบคลุมทุกตำบลในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2.ร้อยละ 90 ของผู้ประกอบการมีใบอนุญาตประกอบกิจการถูกต้องตามข้อกำหนดในเทศบัญญัติ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
0.00

 

2 ๑.๒ เพื่อสะดวกในการติดตามร้านค้าทุกประเภทให้มีใบอนุญาตประกอบกิจการ
ตัวชี้วัด : ๑.๒ ร้อยละ ๙๐ ของผู้ประกอบการมีใบอนุญาตประกอบกิจการตามข้อกำหนดในเทศบัญญัติ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 160
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (2) ๑.๒ เพื่อสะดวกในการติดตามร้านค้าทุกประเภทให้มีใบอนุญาตประกอบกิจการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจหาเชื้อคลอริฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (2) จัดอบรมความรู้ด้านสุขลักษณะการประกอบการร้านอาหาร (3) จัดอบรมเทศบัญญัติด้านการประกอบกิจการร้านอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อยกระดับมาตรฐานการบริการผู้ประกอบการ ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวิมลแซ่เฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด