กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน


“ โครงการคัดกรอง และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ”

ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566-L5314-1-3 เลขที่ข้อตกลง 18/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2566-L5314-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงอายุแล้ว (Aging Society) ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2548 ซึ่งเป็น ปีแรกที่มีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ตามคำนิยามขององค์การ สหประชาชาตินั่นคือ ประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุเกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ โดยในปีพ.ศ. 2562 มีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึงร้อยละ 16.73 ของประชากรทั้งประเทศ และจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงอายุ โดยสมบูรณ์ (Complete - Aged Society) ในปีพ.ศ. 2564 เมื่อสัดส่วนผู้สูงอายุ60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ทั้งนี้ประเทศไทยจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super - Aged Society) ในปีพ.ศ. 2574 สัดส่วน ผู้สูงอายุ60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ28 จากสถานการณ์ของผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบ ทั้งทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมโดยรวม การเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์สังคมสูงอายุจึงเป็นประเด็น ที่สำคัญ เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพที่เรื้อรังซึ่งทำให้ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย ได้คาดประมาณงบประมาณที่ต้องใช้ในการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง โดยเฉลี่ยแล้วสูงถึงประมาณ 15,000 ล้านบาทต่อปีหรือร้อยละ 0.1 ของ GDP ในช่วงปีพ.ศ. 2558 - 2565 จึงต้องเน้นให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพก่อนวัยสูงอายุและเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ เพื่อลดภาระด้านเศรษฐกิจของประเทศ สังคม และครอบครัว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน รับผิดชอบจำนวน 4 หมู่บ้าน มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวน 414 คน คิดเป็นสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 17.39 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ทำให้อัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมประชากรวัยทำงานที่จะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น รวมถึงปัญหาด้านสุขภาพที่จะส่งผลในการที่จะต้องดูแลผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากวัยผู้สูงอายุเป็นช่วงวัยบั้นปลายของชีวิต ภาวะสุขภาพอาจจะมีความเปลี่ยนแปลงบ่อย มีความเสื่อมถอยของอวัยวะต่างๆที่เริ่มอ่อนแอและเกิดโรคง่าย ปัญหาสุขภาพที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุได้แก่ การเคลื่อนไหว โภชนาการสิ่งแวดล้อม สุขภาพช่องปากสมองเสื่อม เป็นต้น ผลการประเมินความสามารถในการใช้ชีวิตประจำวัน (ADL) ทั้งหมด 10 หมวด ในปีงบประมาณ 2565 พบว่า ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม จำนวน 399 คน กลุ่มติดบ้าน จำนวน 13 คนกลุ่มติดเตียง จำนวน 2 คน โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสนมีเป้าหมายหลัก คือ “ผู้สูงอายุสุขภาพดีดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” จึงได้จัดทำโครงการคัดกรอง และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพและยกระดับอาสาสมัครสาธารณสุขให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพตามมาตรฐานการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 1 วัน
  2. จัดกิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ
  3. คัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุนอกสถานบริการเก็บตกจนครบกลุ่มเป้าหมายโดยอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับเจ้าหน้าที่
  4. จัดทำเล่มรายงานนำเสนอผู้บริหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 414
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
  2. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง และประเมินภาวะสุขภาพ พร้อมทั้งได้รับการดูแลที่เหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพและยกระดับอาสาสมัครสาธารณสุขให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุข ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพในการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพตามมาตรฐานการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพตามมาตรฐานการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 414
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 414
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพและยกระดับอาสาสมัครสาธารณสุขให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพตามมาตรฐานการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข  จำนวน 1 วัน (2) จัดกิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ (3) คัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุนอกสถานบริการเก็บตกจนครบกลุ่มเป้าหมายโดยอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับเจ้าหน้าที่ (4) จัดทำเล่มรายงานนำเสนอผู้บริหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566-L5314-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด