กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคลายกล้ามเนื้อด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
รหัสโครงการ 66-L5188-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะบ้า
วันที่อนุมัติ 24 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 8,175.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ยัซมีน หะมะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายธนพนธ์ จรสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประชาชนตำบลเกาะสะบ้ามีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
40.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อบำบัดผู้เข้าร่วมโครงการให้มีอาการปวดเมื่อยลดลง

อาการปวดเมื่อของผู้เข้าร่วมโครงการลดลง

40.00 0.00
2 ส่งเสริมผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง

การทำแบบสอบถามก่อน และหลังเข้าร่วมโครงการ

40.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 พ.ค. 66 - 31 ก.ค. 66 ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง สาธิตการบริหารร่างกาย และให้คำแนะนำ 0 4,751.00 -
1 ก.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 สาธิตการทำน้ำมันไพล 0 3,424.00 -
1 ก.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 สรุปผลการดำเนินโครงการ 0 0.00 -
รวม 0 8,175.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีอาการปวดเมื่อยลดลง
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
  3. มีการนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้การดูแลสุขภาพของคนในชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2566 00:00 น.