กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง


“ โครงการรณรงค์แยกขยะก่อนทิ้งขยะในชุมชน ปี 2566 หมู่ 4 ตำบลอาซ่อง ”

ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี วาเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์แยกขยะก่อนทิ้งขยะในชุมชน ปี 2566 หมู่ 4 ตำบลอาซ่อง

ที่อยู่ ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4166-2-04 เลขที่ข้อตกลง 04

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์แยกขยะก่อนทิ้งขยะในชุมชน ปี 2566 หมู่ 4 ตำบลอาซ่อง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์แยกขยะก่อนทิ้งขยะในชุมชน ปี 2566 หมู่ 4 ตำบลอาซ่อง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์แยกขยะก่อนทิ้งขยะในชุมชน ปี 2566 หมู่ 4 ตำบลอาซ่อง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4166-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขยายตัวของชุมชนเมืองและการเพิ่มจำนวนประชากรมีมากขึ้น ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม อย่างรวดเร็วมาก เทคโนโลยีพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดด สวนทางกับธรรมชาติที่ทรุดโทรมลงแต่นั่นก็ไม่ได้แปลว่า มนุษย์เราไม่ได้ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม เพราะในแต่ละปีก็มีหลากหลายหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ช่วยกัน ผลักดันเพื่อความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นอยู่มาก โดยปัจจุบันมีนวัตกรรมที่น่าสนใจมากมายที่ทำเพื่อโลก ทำเพื่อสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ทำให้ส่งผลต่อการดำรงชีวิตความเป็นอยู่ทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ซึ่งปัญหาขยะมูลฝอยนับว่าเป็นอีกปัญหาหนึ่ง ที่สำคัญที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ตามลำดับ อันเนื่องมาจากสาเหตุความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบกับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และจำนวนของประชากรที่เพิ่มขึ้นทำให้พฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ประกอบกับมีการใช้บรรจุภัณฑ์ฟุ่มเฟือยมากขึ้น และประชาชนมีพฤติกรรมการทิ้งมูลฝอยโดยขาดจิตใต้สำนึกและ ไม่คัดแยกขยะมูลฝอยต่าง ๆ ก่อนทิ้ง จากปัจจัยดังกล่าวทำให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ขาดความสะอาด ความ สวยงาม ความเป็นระเบียบ และไม่น่าอยู่ อีกทั้งยังขาดความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ ที่จะต้องแก้ไขปัญหาร่วมกัน และการมีระบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ รวมถึงประชาชนยังขาดองค์ความรู้และ จิตสำนึกเกี่ยวกับการตระหนักถึงปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย ทำให้ไม่เห็นถึงความสำคัญที่จะลดปริมาณและคัด แยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางหรือแหล่งกำเนิด จึงส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มมากขึ้นในทุก ๆ ปี
ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการรณรงค์แยกขยะก่อนทิ้งในชุมชน หมู่ 4 โดยประชุมทีมคณะทำงาน เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการลดใช้ การนำกลับ และการแปรรูปขยะให้มีมูลค่า การประชุมซักซ้อมความเข้าใจ เพื่อเป็นต้นแบบในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืน และเพิ่มเติมในกิจกรรม เป็นกิจกรรมหนึ่งที่มุ่งเน้นการ ปลูกฝังจิตสำนึกให้ประชาชนตำบลอาซ่อง มีนิสัยไม่ทิ้งขยะ ให้รู้จักคุณค่าของวัสดุเหลือใช้ (ขยะ) และ รู้จักแยกขยะแต่ละประเภทได้ถูกต้อง ในชีวิตประจำวัน โดยการปฏิบัติจริง และสร้างแรงจูงใจ ทำให้ขยะลดปริมาณลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลอาซ่อง ให้เห็นความสำคัญของการจัดการขยะ จนเป็นวัฒนธรรมขององค์กรและเป็นแบบอย่างให้แก่ชุมชน สังคม
  2. 2. สร้างวินัย และสร้างจิตสำนึกให้ชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการจัดการ ขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง
  3. 3. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน บ้านเมืองสะอาดเรียบร้อย เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
  4. 4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เกียวกับการแยกขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ปลูกจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
  2. กิจกรรมรณรงค์เดิน วิ่ง เก็บขยะ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะและโฟม
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ปลูกจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
  4. กิจกรรมรณรงค์เดิน วิ่ง เก็บขยะ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะและโฟม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ และมีจิตสำนึกและตระหนักถึง ความสำคัญในการลดปริมาณและคัดแยกขยะ
  2. บ้านเรือนในชุมชน เป็นบ้านเรือนที่ถูกหลักสุขาภิบาลและมีสิ่งแวดล้อมที่ดีและเป็น หมู่บ้านต้นแบบในการจัดการขยะมูลฝอย
  3. ประชาชนสามารถบริหารจัดการตนเองในการคัดแยกขยะ ขยะในชุมชนมีปริมาณลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลอาซ่อง ให้เห็นความสำคัญของการจัดการขยะ จนเป็นวัฒนธรรมขององค์กรและเป็นแบบอย่างให้แก่ชุมชน สังคม
ตัวชี้วัด :

 

2 2. สร้างวินัย และสร้างจิตสำนึกให้ชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการจัดการ ขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน บ้านเมืองสะอาดเรียบร้อย เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เกียวกับการแยกขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
ตัวชี้วัด :
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลอาซ่อง ให้เห็นความสำคัญของการจัดการขยะ จนเป็นวัฒนธรรมขององค์กรและเป็นแบบอย่างให้แก่ชุมชน สังคม (2) 2. สร้างวินัย และสร้างจิตสำนึกให้ชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการจัดการ ขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง (3) 3. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน บ้านเมืองสะอาดเรียบร้อย เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน (4) 4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เกียวกับการแยกขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ปลูกจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน (2) กิจกรรมรณรงค์เดิน วิ่ง เก็บขยะ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะและโฟม (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ปลูกจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน (4) กิจกรรมรณรงค์เดิน วิ่ง เก็บขยะ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะและโฟม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์แยกขยะก่อนทิ้งขยะในชุมชน ปี 2566 หมู่ 4 ตำบลอาซ่อง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4166-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดุษฎี วาเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด