กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง


“ โครงการส่งเสริมทันตกรรมและป้องกันโรคในช่องปาก ”

ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตกรรมและป้องกันโรคในช่องปาก

ที่อยู่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4122-01-03 เลขที่ข้อตกลง 06/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตกรรมและป้องกันโรคในช่องปาก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตกรรมและป้องกันโรคในช่องปาก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตกรรมและป้องกันโรคในช่องปาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4122-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโต ในทุกด้านของเด็ก หากเด็กไม่มีฟันที่จะสามารถเคี้ยวอาหารได้ดีแล้วร่างกายก็จะได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการด้านร่างกายก็จะไม่เป็นไปตามวัยและยังส่งผลทางด้านจิตใจได้อีกด้วย เมื่อเกิดการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากฟัน ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากส่งผลทางด้านการเจริญเติบโตทางร่างกายที่เห็นได้ชัดแล้ว การเรียนรู้ก็จะลดลงเนื่องจากถูกรบกวนด้วยการเจ็บป่วยนี้และส่งผลต่อผู้ปกครองในด้านเศรษฐกิจเนื่องจากค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้นในการรักษาทางทันตกรรม และจากการสำรวจสภาวะช่องปาก ของเด็กนักเรียนประถมศึกษาตามกรมอนามัยดำเนินการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศทุก 5 ปี ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2520 สำหรับการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 8 ปี 2560 จากการสำรวจพบว่าเด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี ร้อยละ 58.7 เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากการสำรวจสภาวะโรคฟันผุในฟันถาวรพบว่า เด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) ร้อยละ 66.7 ความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 52.0 โดยมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (DMFT) เท่ากับ 1.4 ซี่/คน เป็นฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 31.5 มีฟันอุดร้อยละ 31.1 และมีการสูญเสียฟันร้อยละ 3.0 โดยพบว่าความชุกของการเกิดโรคฟันผุสูงสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยละ 61.1 รองลงมาคือภาคเหนือร้อยละ 51.1 ภาคกลางร้อยละ 49.2 และภาคใต้ร้อยละ 44.0 ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.6, 1.3, 1.3 และ 1.1 ซี่/คน ตามลำดับ จากการสำรวจสภาวะโรคฟันผุในฟันถาวรในระดับจังหวัดยะลาพบว่า เด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) ร้อยละ 76.54 ความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 43.23 โดยมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (DMFT) เท่ากับ 1.38 ซี่/คน และจากการสำรวจสภาวะโรคฟันผุในฟันถาวรในระดับอำเภอบันนังสตาพบว่า เด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) ร้อยละ 76.54 ความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 57.24 โดยมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (DMFT) เท่ากับ 1.55 ซี่/คน และจาการสำรวจในระดับตำบลเขื่อนบางลาง ปีงบประมาณ 2565 พบว่า เด็กนักเรียนมีสภาวะฟันแท้ผุ ร้อยละ 79.61 ซึ่งอยู่ในระดับที่เป็นปัญหา และไม่ผ่านเกณฑ์มาตราฐานกระทรวจกำหนดไว้ว่าร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ (Cavity free) ไม่เกินร้อยละ 72
ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ1 ได้เห็นความสำคัญของการส่งเสริมทันตกรรมและป้องกันโรคในช่องปาก เพื่อให้เด็กได้รับการส่งเสริมป้องกันและรักษาทางทันตกรรมได้ทั่วถึง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตกรรมและป้องกันโรคในช่องปาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการเกิดฟันแท้ผุในเด็กประถมศึกษา โดยเน้นฟันกรามแท้ซี่ที่ 1
  2. เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากในเด็กประถมศึกษา
  3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กประถมศึกษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 256
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 โรงเรียนประถมศึกษา มีกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ชัดเจนเป็นรูปแบบและสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง มีระบบการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ
    2 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติตัวเพื่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี
    3 นักเรียนประถมศึกษาได้รับบริการทันตกรรมเพื่อป้องกันและลดการเกิดโรคฟันผุ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อป้องกันการเกิดฟันแท้ผุในเด็กประถมศึกษา โดยเน้นฟันกรามแท้ซี่ที่ 1
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากในเด็กประถมศึกษา
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กประถมศึกษา
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 256
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 256
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดฟันแท้ผุในเด็กประถมศึกษา โดยเน้นฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 (2) เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากในเด็กประถมศึกษา (3) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กประถมศึกษา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมทันตกรรมและป้องกันโรคในช่องปาก จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-L4122-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด