กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ว่าที่ร้อยตรีหญิงกนกกาญจน์ ช่วงแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-l8429-01-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-l8429-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของสตรีวัยทำงานในประเทศไทย พบว่า มีปัญหาสุขภาพทั้งทางกายและทางจิต สำหรับโรคร้ายที่เกิดกับสตรีไทยคือโรคมะเร็งเต้านม และโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งโรคมะเร็งเต้านมเป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 โรคมะเร็งปากมดลูกพบมากเป็นอันดับ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทย สถิติจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่า ปัจจุบันในประเทศไทยพบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ประมาน 13,000 รายต่อปี หรือ 35 คนต่อวัน และพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ 10,000 รายต่อปี หรือ 27 คนต่อวัน ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมาพบแพทย์ เมื่อระยะของโรคมะเร็งนั้นได้เข้าสู่ในระยะลุกลามแล้ว การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูง ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ก่อให้เกิดปัญหาด้านสังคมและครอบครัวมาอย่างมากมาย ซึ่งการตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูก ตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอนที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติ โดยการทำPap smear หรือ VIA (Visual Inspection of cervix with Acetic acid) ประกอบกับการดำเนินโรคแบบค่อยเป็นค่อยไป และสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น(Cryotherapy) ในส่วนของโรคมะเร็งเต้านม ยังไม่อาจคันหาสาเหตุสำคัญได้โอกาสที่สตรีจะป้องกันตนเอง จากมะเร็งเต้านม จึงไม่มีเทคโนโลยีใดที่เหมาะสม นอกจากการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ หากพบก้อนและสงสัยตั้งแต่ระยะเริ่มต้น สามารถที่จะรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้น ถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมลดลง       จากการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลสิเกา พบว่า ปีงบประมาณ 2563 – 2565 กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 70.93 , 33.96 และ 48.94 ตามลำดับ และผลการตรวจคัดกรองพบความผิดปกติ จำนวน 2 ราย , 1 ราย และ 2 รายตามลำดับ            คัดกรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ 79.84 , 80.26 และ 82.53 ตามลำดับ ผลการตรวจคัดกรองพบความผิดปกติ  จำนวน 3 ราย , 1 ราย และ 2 รายตามลำดับ
    ดังนั้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลสิเกา จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมความรู้ด้านอนามัยการเจริญพันธุ์และตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก โรคมะเร็งเต้านม ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก และ อายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  3. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการแจ้งผลการตรวจ
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีผลตรวจคัดกรองผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้ เรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์การป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม 2 ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชากรกลุ่มเป้าหมาย 50-70 ปี มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้น 2.ลดอัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้ เรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์การป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม 2 ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 26 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 08.30 – 08.45 น. ลงทะเบียน เวลา 09.00 – 10.30 น. อบรมให้ความรู้เรื่องวิธีการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
เวลา 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง เวลา 10.45 – 12.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่องการวิธีป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และ                                           วิธีการป้องกันมะเร็งปากมดลูก เวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 – 16.00 น. ฐานตรวจสุขภาพ
- ฐาน 1 ประเมินการตรวจมะเร็งเต้านม - ฐาน 2 ประเมินการตรวจมะเร็งปากมดลูก เวลา 16.00 – 16.30 น. สรุป/ซักถามประเด็นข้อสงสัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รวมถึงเห็นความสำคัญของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
2.กลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อ รักษา และติดตามการรักษาที่เหมาะสมทุกราย 3.ลดอัตราการป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : มีความรู้ผ่านเกณฑ์เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม
80.00

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก และ อายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 40 ของสตรี อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก -ร้อยละ 90 ของสตรี อายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
100.00

 

3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการแจ้งผลการตรวจ
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการแจ้งผลการตรวจ
100.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีผลตรวจคัดกรองผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่มีผลผิดปกติหรือสงสัยได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก และ อายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (3) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการแจ้งผลการตรวจ (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีผลตรวจคัดกรองผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้ เรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์การป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม 2 ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-l8429-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ว่าที่ร้อยตรีหญิงกนกกาญจน์ ช่วงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด