ลดซีด พิชิตเสี่ยง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ลดซีด พิชิตเสี่ยง ”
ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ ลดซีด พิชิตเสี่ยง
ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 007/2566 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ลดซีด พิชิตเสี่ยง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ลดซีด พิชิตเสี่ยง
บทคัดย่อ
โครงการ " ลดซีด พิชิตเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 007/2566 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัวเนื่องจากร่างกายมีการเปลี่ยนแปลง อย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด
จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ตั้งแต่ปีงบประมาณ2563 -2565 มีจำนวนการคลอด 333, 317, และ240 คน ตามลำดับดังนี้ มารดาคลอดก่อนกำหนด คิดเป็นร้อยละ 1.5, 1.32 และ 0.83 มารดาที่มีภาวะเสี่ยงสูง คิดเป็นร้อยละ 7.93, 5.67 และ 6.30มารดาได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 84.45, 86.01 และ 76.92 มารดาที่มีภาวะโลหิตจาง คิดเป็นร้อยละ 11.66, 7.31และ 10.53 พบทารกที่มีน้ำหนักน้อย คิดเป็นร้อยละ 7.02, 7.98, และ 5 ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกคลอด คิดเป็นร้อยละ 12.27, 5.74 และ 0ตามลำดับ
เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้แก่ การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอดการประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะตั้งครรภ์จะสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกต่อไป
ดังนั้นการส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์การฝากครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองและลูกในขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้องเหมาะสม ด้วยเหตุนี้กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลกาบังได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการลดซีดพิชิตเสี่ยงเพื่อให้ความรู้ คำแนะนำคำปรึกษา และกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการฝากครรภ์ก่อน 12สัปดาห์ ติดตามการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอด8ครั้งป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด รวมถึงประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์มารดาและเด็กหลังคลอดที่ถูกต้องเหมาะสมในชุมชนได้มากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด) ๓ กลุ่มโรค PNC (PPH PIH Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแล ตามมาตรฐาน ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
- -เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตของมารดาและลดอัตราการเกิดภาวะทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
- -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอดได้ถูกต้อง
- -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์เสี่ยง/สามี/ญาติ
- จัดอบรมมารดาหลังคลอด/สามี/ญาติ
- เยี่ยมบ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
95
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค( เบาหวานความดันโลหิตสูงหัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด)๓ กลุ่มโรค PNC (PPHPIHSepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนดไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคในระหว่างการตั้งครรภ์ ระหว่างคลอดและหลังคลอด
-หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพสามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
-หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ๗๕
-หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ๘ ครั้งตามเกณฑ์ไม่ต่ำร้อยละ๗๕
-ภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ๑๐
-ทารกแรกคลอดน้ำหนักมากกว่า ๒๕๐๐ กรัม น้อยกว่าร้อย ๗
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
-เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด) ๓ กลุ่มโรค PNC (PPH PIH Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแล ตามมาตรฐาน ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค( เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด) ๓ กลุ่มโรค PNC (PPH PIH Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคในระหว่างการตั้งครรภ์
ระหว่างคลอดและหลังคลอด
50.00
60.00
2
-เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตของมารดาและลดอัตราการเกิดภาวะทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๕
-ภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ ๑๐
-ทารกแรกคลอดน้ำหนักมากกว่า ๒,๕๐๐ กรัม น้อยกว่าร้อย ๗
0.00
3
-เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอดได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอด
0.00
4
-เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ
ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ ๘ ครั้งตามเกณฑ์ไม่ต่ำร้อยละ ๗๕
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
95
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
95
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด) ๓ กลุ่มโรค PNC (PPH PIH Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแล ตามมาตรฐาน ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด (2) -เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตของมารดาและลดอัตราการเกิดภาวะทารกมีน้ำหนักตัวน้อย (3) -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอดได้ถูกต้อง (4) -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์เสี่ยง/สามี/ญาติ (2) จัดอบรมมารดาหลังคลอด/สามี/ญาติ (3) เยี่ยมบ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ลดซีด พิชิตเสี่ยง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 007/2566
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ลดซีด พิชิตเสี่ยง ”
ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 007/2566 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ลดซีด พิชิตเสี่ยง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ลดซีด พิชิตเสี่ยง
บทคัดย่อ
โครงการ " ลดซีด พิชิตเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 007/2566 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัวเนื่องจากร่างกายมีการเปลี่ยนแปลง อย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด
จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ตั้งแต่ปีงบประมาณ2563 -2565 มีจำนวนการคลอด 333, 317, และ240 คน ตามลำดับดังนี้ มารดาคลอดก่อนกำหนด คิดเป็นร้อยละ 1.5, 1.32 และ 0.83 มารดาที่มีภาวะเสี่ยงสูง คิดเป็นร้อยละ 7.93, 5.67 และ 6.30มารดาได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 84.45, 86.01 และ 76.92 มารดาที่มีภาวะโลหิตจาง คิดเป็นร้อยละ 11.66, 7.31และ 10.53 พบทารกที่มีน้ำหนักน้อย คิดเป็นร้อยละ 7.02, 7.98, และ 5 ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกคลอด คิดเป็นร้อยละ 12.27, 5.74 และ 0ตามลำดับ
เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้แก่ การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอดการประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะตั้งครรภ์จะสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกต่อไป
ดังนั้นการส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์การฝากครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองและลูกในขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้องเหมาะสม ด้วยเหตุนี้กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลกาบังได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการลดซีดพิชิตเสี่ยงเพื่อให้ความรู้ คำแนะนำคำปรึกษา และกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการฝากครรภ์ก่อน 12สัปดาห์ ติดตามการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอด8ครั้งป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด รวมถึงประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์มารดาและเด็กหลังคลอดที่ถูกต้องเหมาะสมในชุมชนได้มากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด) ๓ กลุ่มโรค PNC (PPH PIH Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแล ตามมาตรฐาน ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
- -เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตของมารดาและลดอัตราการเกิดภาวะทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
- -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอดได้ถูกต้อง
- -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์เสี่ยง/สามี/ญาติ
- จัดอบรมมารดาหลังคลอด/สามี/ญาติ
- เยี่ยมบ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 95 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค( เบาหวานความดันโลหิตสูงหัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด)๓ กลุ่มโรค PNC (PPHPIHSepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนดไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคในระหว่างการตั้งครรภ์ ระหว่างคลอดและหลังคลอด
-หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพสามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
-หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ๗๕
-หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ๘ ครั้งตามเกณฑ์ไม่ต่ำร้อยละ๗๕
-ภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ๑๐
-ทารกแรกคลอดน้ำหนักมากกว่า ๒๕๐๐ กรัม น้อยกว่าร้อย ๗
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด) ๓ กลุ่มโรค PNC (PPH PIH Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแล ตามมาตรฐาน ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค( เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด) ๓ กลุ่มโรค PNC (PPH PIH Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคในระหว่างการตั้งครรภ์ ระหว่างคลอดและหลังคลอด |
50.00 | 60.00 |
|
|
2 | -เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตของมารดาและลดอัตราการเกิดภาวะทารกมีน้ำหนักตัวน้อย ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๕ -ภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ ๑๐ -ทารกแรกคลอดน้ำหนักมากกว่า ๒,๕๐๐ กรัม น้อยกว่าร้อย ๗ |
0.00 |
|
||
3 | -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอดได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอด |
0.00 |
|
||
4 | -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ ๘ ครั้งตามเกณฑ์ไม่ต่ำร้อยละ ๗๕ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 95 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 95 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง ๕ กลุ่มโรค (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ ธัยรอยด์ ตกเลือดหลังคลอด) ๓ กลุ่มโรค PNC (PPH PIH Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแล ตามมาตรฐาน ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด (2) -เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตของมารดาและลดอัตราการเกิดภาวะทารกมีน้ำหนักตัวน้อย (3) -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอดได้ถูกต้อง (4) -เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์เสี่ยง/สามี/ญาติ (2) จัดอบรมมารดาหลังคลอด/สามี/ญาติ (3) เยี่ยมบ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ลดซีด พิชิตเสี่ยง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 007/2566
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......