กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนเขต 10เทศบาลเมืองบ้านพรุ
รหัสโครงการ 67-L5278-2-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.เขต 10 เทศบาลเมืองบ้านพรุ
วันที่อนุมัติ 27 กันยายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 29 กันยายน 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 37,680.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุภา ปลื้มใจ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนเขต 10
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 29 ก.ย. 2566 30 ก.ย. 2567 37,680.00
รวมงบประมาณ 37,680.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ประชาชนในเขต 5 อายุ 35ปีขึ้นไปมีทั้งหมดจำนวน..............คน
ประชาชน35ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานทั้งหมด.......................คน

24.20
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ประชาชนในเขต 5 อายุ 35ปีขึ้นไปมีทั้งหมดจำนวน..............คน ประชาชน35ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงโรคความดันทั้งหมด.......................คน

22.20

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยง ที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ เช่น โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่าย ด้านสาธารณสุขโดยรวม ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อดังกล่าวเพื่อลดการเกิดโรคเรื้อรังได้

  จากการตรวจคัดกรองปี 2566 ได้ลงคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่และอาสสมัครสาธารณสุขเทศบาลเมืองบ้านพรุ ทั้ง 11 ชุมชน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 2,000 คน มีผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 1,500 คนมีผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 2,000 คน ในชุมชนเขต 10 มีผู็เข้ารับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน 100 คน พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 1คน คิดเป็นร้อยละ 1 พบกลุ่มเสี่ยง จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 25 มีผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเความดันโลหิตสูงทั้งหมด 110 คน และพบผู้รับบริการ กลุ่มเสี่ยง จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 31.81 และผู้รับบริการมีดัชนีมวลกายเกิน 22 คน คิดเป็นร้อบละ 20 รอบเอวเกิน 25 คน คิดเป็นร้อบละ 22.72 อาสาสมัครเทศบาลเมืองบ้านพรุ เล็งเห็นและตระหนัก ถึงความสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มวัยทำงาน จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนเขต 10 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริม กระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายวัยทำงาน ตระหนัก รับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น เป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

24.20 20.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

22.20 19.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 ประชุมวางแผนของคณะทำงาน(9 ต.ค. 2566-24 ต.ค. 2566) 3,580.00                          
2 ประชุมอบรมกลุ่มเสี่ยง(19 พ.ย. 2566-19 พ.ย. 2566) 5,150.00                          
3 เยี่ยมบ้านประเมินภาวะสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง(7 ม.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 29,550.00                          
4 ประชุมสรุปและถอดบทเรียน(19 ก.ย. 2567-19 ก.ย. 2567) 1,700.00                          
รวม 39,980.00
1 ประชุมวางแผนของคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 3,580.00 0 0.00
10 ต.ค. 66 ประชุมวางแผนของคณะทำงาน 30 3,580.00 -
2 ประชุมอบรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 5,150.00 0 0.00
26 ต.ค. 66 อบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ. 2ส. 40 5,150.00 -
3 เยี่ยมบ้านประเมินภาวะสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 29,550.00 0 0.00
13 พ.ย. 66 - 31 ก.ค. 67 เฝ้าระวังเชิงรุกเป้าหมาย 40 คน 40 29,550.00 -
4 ประชุมสรุปและถอดบทเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 1,700.00 0 0.00
29 ก.ค. 67 ประชุมสรุปและถอดบทเรียน 40 1,700.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ลดจำนวนผู้ป่วยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ร้อยละ 50
  2. กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในชุมชนเขต 10ได้รับการติดตามดูแลตามเกณฑ์ทางด้านสาธารณสุข
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2566 12:40 น.